3.วิชาคอมพิวเตอร์

 

        Computer
  Computer (คอมพิวเตอร์)   แปลว่า "เครื่องคิดคำนวณโดยวิธีประมวลผลให้เป็นภาพ"
    -Computer  แบ่งออกเป็น  5  ชนิด  คือ:-

       1.Computer History (คอมพิวเตอร์ ฮิสโทรี่)   แปลว่า "ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์" 
       2.software (ซอฟท์แวร์)   แปลว่า "โปรแกรมคอมพิวเตอร์"
       3.Hardware (ฮาร์ดแวร์)   แปลว่า "เครื่องอุปกรณ์คอมพิวเตอร์" 

       4.Computer Accessories (คอมพิวเตอร์ แอ็คเซซโซะรี่)   แปลว่า "อุปกรณ์เสริมคอมพิวเตอร์"
           5.Computer Graphic (คอมพิวเตอร์ กราฟฟิค)   แปลว่า "ภาพวาดกราฟฟิคเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์"
           COMPUTER HISTORY
         ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
  คอมพิวเตอร์   หมายถึงเครื่องคำนวณอิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถทำงานคำนวณผลและเปรียบเทียบค่า ตามชุดคำสั่งด้วยความเร็วสูง อย่างต่อเนื่อง และอัตโนมัติ
    เครื่อง คอมพิวเตอร์นับได้ว่าเป็นสิ่งประดิษฐ์ที่มีความสลับซับซ้อน ( Conplexity ) น่าอัศจรรย์ที่มีความสามารถยิ่ง ซึ่งนับวันจะสูงขึ้นด้วยเทคโนโลยีที่พัฒนาก้าวไปอย่างรวดเร็วเมื่อเทียบกับ อดีต คอมพิวเตอร์นับว่าเป็นสิ่งประดิษฐ์ที่มีประวัติศาสตร์อันน่าศึกษา เริ่มจากเดิมมนุษย์ดำเนินชีวิตโดยไม่มีการบันทึก จนกระทั่งการพาณิชย์มีการพัฒนาขึ้น พ่อค้าชาวแบบีลอน (Babylonian) ได้มีการจดบันทึกข้อมูลต่างๆ ลงบน clay tablets สำหรับการคำนวณ อุปกรณ์คำนวณในยุคแรกได้แก่ ลูกคิด ซึ่งปัจจุบันก็ยังมีใช้อยู่
จน กระทั่งในปี พ.ศ. 2185 นักคณิตศาสตร์ชาวฝรั่งเศส Blaise Pascal ได้สร้างเครื่องกลสำหรับการคำนวณชื่อ pascaline ในปี พ.ศ. 2215 Gottfried Von Leibniz นักคณิตศาสตร์ชาวเยอร์มันได้พัฒนา pascaline โดยสร้างเครื่องที่สามารถ บวก ลบ คูณ หาร และถอดรากได้ แต่ก็ไม่มีผู้ใดทราบว่ามีความแม่นยำขนาดไหน ต่อมาในปี พ.ศ. 2336 นักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษ Chales Babbage ได้สร้างดิฟเฟอเรนซ์แอนจิน difference engine ที่มีฟังก์ชันทางตรีโกณมิติต่างๆ โดยอาศัยหลักการทางคณิตศาสตร์ และคิดว่าจะสร้างแอนะลีติคอลเอนจิน (analytical engine ) ที่มีหลักคล้ายเครื่องคอมพิวเตอร์ทั่วไปในปัจจุบัน จึงมีผู้ยกย่องว่าเป็นบิดาของคอมพิวเตอร์และเป็นผู้ริเริ่มวางรากฐาน คอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน 
ปี พ.ศ. 2439 Herman Hollerith ได้คิดบัตรเจาะรูและเครื่องอ่านบัตร จนกระทั่วในปี พ.ศ. 2480 Howard Aiken สร้าง automatic calculating machine เพื่อเชื่อมโยงเทคโนโลยีทั้งทาง electrical และ mechanical เข้ากับบัตรเจาะรูของ Hollerith ด้วยความช่วยเหลือของนักศึกษาปริญญาและวิศวกรรมของ IBM สำเร็จในปี พ.ศ. 2487 โดยใช้ชื่อว่า MARK I การทำงานภายในตัวเครื่องถูกควบคุมอย่างอัตโนมัติด้วย electromagnetic relays และ arthmetic counters ซึ่งเป็น mechanical ดังนั้น MARK I จึงนับเป็น electromechanical computers และต่อมา Dr. John Vincent Atanasoff และ Clifford Berry ได้สร้างเครื่อง ABC ( Atanasoft-Berry Computer ) โดยใช้หลอดสูญญากาศ ( vacuum tubes) และในปี พ.ศ. 2483 Dr.John W. Mauchy และ J. Presper Eckert Jr. พัฒนาเพิ่มเติมบนหลักการออกแบบพื้นฐานของ Dr. Atanasoff เพื่อสร้าง electronic computer เครื่องแรกชื่อ ENIAC แต่ยังไม่เป็นคอมพิวเตอร์ชนิดเก็บโปรแกรมได้ ( stored program ) จึงได้รับการพัฒนาเป็นเครื่อง EDVAC ซึ่งอาศัยหลักการ stored program สมบูรณ์และได้มีการพัฒนาเป็นเครื่อง EDSAC และพัฒนาเป็นเครื่อง UNIVAC ( Universal Automatic Computer ) ในที่สุด
ถ้าจะจำแนกยุคของคอมพิวเตอร์ ( Computer generations ) โดยแบ่งตามเทคโนโลยีของตัวเครื่องกับเทคโนโลยีการเก็บข้อมูลแล้วก็จะพอจะ พิจารณาได้คือ
   ยุคแรก ใช้เทคโนโลยีของหลอดสูญญากาศ เป็นแบบบัตรเจาะรู
   ยุคที่สอง ใช้เทคโนโลยีของทรานซิสเตอร์เป็นแบบเทป ลักษณะเป็นกรรมวิธีตามลำดับ ( Sequential Processing )
   ยุคที่สาม ใช้เทคโนโลยีของไอซี (integrated circuit, IC) เป็นแบบจานแม่เหล็กลักษณะเป็นการทำงานหลายโปรแกรมพร้อมกัน ( Multiprogramming ) และออนไลน์ ( on-line)
   ยุคที่สี่ ใช้เทคโนโลยีของวงจรรวมขนาดใหญ่ ( Large-scale integration,LSI ) ของวรจรไฟฟ้า ผลงานจากเทคโนโลยีนี้คือ ไมโครโปรเซสเซอร์ ( microprocessor ) กล่าวได้ว่า "Computer on a chip" ในยุคนี้
จากอดีตถึงปัจจุบัน คอมพิวเตอร์ได้พัฒนามาอย่างรวดเร็วทำให้วิทยาการด้านคอมพิวเตอร์มีการพัฒนา เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา กล่าวได้ว่าโลกของวิทยาการคอมพิวเตอร์นั้นมีการเคลื่อนไหวเสมอ ( dynamics) และไม่ค่อยยืดหยุ่น ( rigid ) มากนัก เช่น ถ้ามีความผิดพลาดเพียงเล็กน้อย บางครั้งอาจเป็นบ่อเกิดปัญหาที่ใหญ่โตมหาศาลได้ นอกจากนี้ยังนับได้ว่าเป็นโลกที่ควบคุมไม่ได้ หรือสามารถจัดการได้น้อย กล่าวคือ ทันทีที่ทำงานด้วยโปรแกรม เครื่องก็ปฏิบัติงานไปตามโปรแกรมด้วยตนเอง ขณะนั้นมนุษย์ไม่สามารถควบคุมได้

   กรุณาเปิดลิ้งก์ของเว็บไซต์ข้างล่างเหล่านี้ขึ้นมาอ่านประกอบ 
   http://www.pbps.ac.th/e_learning/combasic/profile.html
   https://sites.google.com/site/non537/home/prawati
   http://computer.kapook.com/history.php

   Youtubeสอนคอมพิวเตอร์เบื้องต้น 
https://www.youtube.com/watch?v=Xw07QoU77zM
https://www.youtube.com/watch?v=85hCYN3A_XY

  สอนคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
http://www.comnetsite.com/computer-basic.php
http://www.thaiwbi.com/course/Intro_com/Intro_com/wbi1/hie/homepage.htm
http://windows.microsoft.com/th-th/windows/windows-basics-all-topics#1TC=windows-7
https://sites.google.com/site/wiparat0001/bth-thi-hnung
http://www.jinan.co.th/computer.html
http://th.wikipedia.org/wiki/คอมพิวเตอร์

  เครื่องอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
http://www.kr.ac.th/ebook/trirat/02.html
http://th.wikipedia.org/wiki/ประวัติฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์

            SOFTWARE
  โปรแกรมคอมพิวเตอร์

   ซอฟต์แวร์ คือโปรแกรมคอมพิวเตอร์  ปัจจุบันคอมพิวเตอร์เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตเราเลยก็ว่าได้ หรือแม้กระทั่งอุปกรณ์ที่กำลังปรับให้ทันกับยุคสมัยอย่างมือถือเองก็เป็น หนึ่งอุปกรณ์ที่ต้องมีไว้ในครอบครอง เนื่องจากเป็นอุปกรณ์ที่ตอบสนองทุกการทำธุรกิจอย่างการส่งอีเมล์ ใช้สั่งของ หรือแม้กระทั่งโอนเงิน นอกจากนี้ยังเป็นเครื่องเพิ่มความสนุกสนาม ความบันเทิง ให้กับพวกเราอีกด้วย ซึ่งระบบพวกนี้จะทำงานไม่ได้เลยถ้าขาดสิ่งที่เรียกว่า ซอฟต์แวร์ นั้นมันเป็นชุดคำสั่งที่จะทำการสั่งงานให้คอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์ต่างๆ ทำงานตามคำสั่งที่เราต้องการยังรวมถึงการจัดเก็บและประมวลผลข้อมูล นอกจากนี้ยังทำการแปลงจากเลขฐานสองให้กลายเป็นข้อมูล ภาพ เสียง หรือตัวอังษรต่างๆ ที่เราเห็นหรือใช้งานอยู่นั่นเอง ซึ่งสิ่งนี้สามารถแยกได้ 2 ประเภทใหญ่หลักๆ คือ
  1.ซอฟต์แวร์สำหรับระบบ (System Software) คือชุดคำสั่งที่เป็นระบบปฏิบัติการต่างๆที่ทำงานควบคู่กับระบบต่างๆภายใน คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่างๆ หรือจะกล่าวง่ายๆนั่นก็คือ Windows Mac หรือแม้แต่ Linux และนอกจากนี้ยังรวมถึงโปรแกรมที่เขียนในภาษาคอมพิวเตอร์อย่าง C C# Java Pascal พวกนี้เองก็เป็นหนึ่งในการช่วยให้ ซอฟต์แวร์นั้นมีระบบที่สมบูรณ์มากยิ่งขึ้น
  2.ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) มันคือ โปรแกรมที่ถูกออกแบบ ถูกทำมาให้กับคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่างๆให้สามารถสั่งงานเพื่อตอบสนองรูป แบบการทำงานอย่าง เครื่องคิดเลข โปรแกรมแต่งรูป หรือแม้แต่ โปรแกรมแชท ต่างๆ เองก็เป็นโปรแกรมพื้นฐานที่ทุกเครื่องต้องมีนอกจากนี้ยังรวมถึง ซอฟต์แวร์สำหรับงานเฉพาะด้าน คือ โปรแกรมที่ออกแบบมาเพื่องานนั้นๆ เช่น โปรแกรมบริหารต่างๆ โปรแกรมออกแบบบ้าน หรือ โปรแกรมPOS เป็นต้น ซึ่งโปรแกรมเหล่านี้สามารถดัดแปลงแก้ไขให้ตรงกับความต้องการของธุรกิจได้ นอกจากนี้ยังมี ซอฟต์แวร์สำหรับงานทั่วไป เป็นโปรแกรมที่พร้อมในการใช้งานโดยไม่ต้องทำการเขียนเอง แต่เราจะไม่สามารถปรับหรือแก้ไขตัวโปรแกรมได้ เช่น MS Office Adobe IE และ เกมส์ต่างๆ เป็นต้น

    หมวดหมู่ของซอฟต์แวร์หลัก  10  โปรแกรม   คือ:-
   1.โปรแกรมอินเทอร์เน็ต
แหล่วงรวม ซอฟต์แวร์ช่วยโหลด ซอฟต์แวร์แชท ซอฟต์แวร์โหลดคลิป เว็บเบราว์เซอร์ ซอฟต์แวร์ Bittorrent ฯลฯ
   2.โปรแกรมส่วนบุคคล
ซอฟต์แวร์ เพื่อใช้การส่วนตัว ซอฟต์แวร์บัญชีครัวเรือน ซอฟต์แวร์ปฏิทิน ซอฟต์แวร์ To-do-Lists ฯลฯ
   3.โปรแกรมมัลติมีเดีย
ซอฟต์แวร์แต่งรูป ซอฟต์แวร์ดูหนังฟังเพลง ซอฟต์แวร์ตัดต่อวีดีโอ ซอฟต์แวร์ออกแบบ ฯลฯ
   4.โปรแกรมเกมส์ PC คอมพิวเตอร์
แหล่ง ดาวน์โหลด เกมส์คอมพิวเตอร์ หรือ เกมส์ PC ทุกชนิด ทั้ง ใครที่ชอบเล่นเกมส์บนเครื่องพีซี สะดวก จอใหญ่ บังคับง่าย ขอเชิญเลือกโหลดได้ที่นี่เลย
   5.โปรแกรมบริหารธุรกิจ
ซอฟต์แวร์ ด้านการ บริหารธุรกิจ ซอฟต์แวร์บัญชี ซอฟต์แวร์หอพัก ซอฟต์แวร์โรงแรม ซอฟต์แวร์ร้านอาหาร ซอฟต์แวร์ขายหน้าร้าน ซอฟต์แวร์พิมพ์ใบเสร็จ ฯลฯ
   6.โปรแกรมการศึกษา
ซอฟต์แวร์เพื่อการศึกษา ซอฟต์แวร์แปลภาษา ซอฟต์แวร์คำนวณ ซอฟต์แวร์วิทยาศาสตร์ ซอฟต์แวร์แผนที่ ฯลฯ
   7.โปรแกรมเมอร์
ซอฟต์แวร์ จำพวกที่ เป็นเครื่องมือ สำหรับ เหล่าบรรดา นักพัฒนาซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์เขียนเว็บ ซอฟต์แวร์ออกแบบเว็บ ซอฟต์แวร์ Text-Editor ฯลฯ
   8.โปรแกรมมือถือ
แอ พพลิเคชั่นมือถือ (App) หรือ ซอฟต์แวร์บนมือถือ แท็บเล็ต เช่น App แต่งรูป App ธนาคาร App เกม ฯลฯ ใช้ได้กับ iOS, Android, BlackBerry, Windows Phone, Symbian
   9.โปรแกรมยูทิลิตี้
ซอฟต์แวร์อรรถประโยชน์ (Utility) ซอฟต์แวร์สแกนไวรัส ซอฟต์แวร์ลบไฟล์ ซอฟต์แวร์ล้างเครื่อง ซอฟต์แวร์ดูแลเครื่อง ฯลฯ
   10.โปรแกรมไดร์เวอร์ (Driver)
ไดร์เวอร์ (Drivers) แหล่ง โหลดไดร์เวอร์ ซอฟต์แวร์คุมการทำงาน อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ของคุณ เช่น ไดร์เวอร์ปริ้นเตอร์ ไดร์เวอร์การ์ดจอ

   กรุณาเปิดลิ้งก์ข้างล่างเหล่านี้ขึ้นมาอ่านประกอบเกี่ยวกับซอฟท์แวร์
http://software.thaiware.com/
http://www.ask.com/wiki/Software
http://th.wikipedia.org/wiki/ซอฟต์แวร์
    รูปภาพของซอฟท์แวร์คอมพิวเตอร์
https://www.google.co.th/search?q=software&biw=1024&bih=653&tbm=isch&tbo=u&source=univ&sa=X&ei=eegUVZDIJ8nnuQTW3oDIDg&ved=0CDYQsAQ&dpr=1
     HARDWARE
 
   ความหมายของฮาร์ดแวร์
      ฮาร์ดแวร์ หมายถึง ส่วนที่ประกอบเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ รวมอุปกรณ์ต่อพ่วงต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ที่เราสามารถมองเห็นและสัมผัสได้ เช่น ตัวเครื่อง จอภาพ คีย์บอร์ด และเมาส์ เป็นต้น เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลโดยทั่วไปจะมีฮาร์ดแวร์หลัก ๆ ได้แก่ 
        1. ตัวเครื่อง (Case) ทำหน้าที่ในส่วนของการประมวลผลข้อมูลที่ได้รับมาจากอุปกรณ์นำเข้าต่างๆ ซึ่งภายในตัวเครื่องจะมีอุปกรณ์หลัก ได้แก่ แผงวงจรหลัก หม้อแปลงไฟฟ้า ซีพียู ฮาร์ดดิสก์ หน่วยความจำ การ์ดแสดงผล การ์ดเสียง เป็นต้น
        2. จอภาพ (Monitor) ทำหน้าที่แสดงผลข้อความ รูปภาพ
        3. ดิสก์ไดร์ฟ (Disk drive) เป็นอุปกรณ์อ่าน-เขียนข้อมูลบนดิสก์เก็ต
        4. คีย์บอร์ด (Keyboard) ทำหน้าที่ป้อนข้อมูลเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์
        5. เม้าส์ (Mouse) เป็นส่วนที่ใช้สั่งงานด้วยการชี้และเลือกสิ่งต่างๆที่แสดงอยู่บนจอภาพ
        6. ลำโพง (Speaker) เป็นส่วนที่ใช้แสดงผลที่เป็นเสียง 
      ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ 
   จำแนกตามหน้าที่ของฮาร์ดแวร์สามารถแบ่งเป็นส่วนสำคัญ 5 ส่วน คือ:-
        1. หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) ทำหน้าที่รับโปรแกรมคำสั่ง และข้อมูลเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ 
        2. หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit - CPU) ทำหน้าที่เกี่ยวกับการคำนวณทั้งทางตรรกะและคณิตศาสตร์ รวมทั้งการประมวลข้อมูลตามคำสั่งที่ได้รับ
        3. หน่วยความจำ (Memory Unit) ทำหน้าที่เก็บข้อมูลหรือคำสั่งที่ส่งมาจากหน่วยรับข้อมูล เพื่อเตรียมส่งไปประมวลผลยังหน่วยประมวลผลกลาง และเก็บผลลัพธ์ที่ได้มาจากการประมวลผลแล้วเพื่อเตรียมส่งไปยังหน่วยแสดงผล
        4. หน่วยแสดงผล (Output Unit) ทำหน้าที่แสดงผลข้อมูลที่คอมพิวเตอร์ทำการประมวลผล หรือผ่านการคำนวณแล้ว
        5. อุปกรณ์ต่อพ่วงอื่นๆ (Peripheral Equipment) เป็นอุปกรณ์ที่นำมาต่อพ่วงเข้ากับคอมพิวเตอร์ เพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานให้มากยิ่งขึ้น เช่น โมเด็ม แผงวงจรเชื่อมต่อเครือข่าย เป็นต้น
     หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) 
   ฮาร์ดแวร์ที่ทำหน้าที่เป็นหน่วยรับข้อมูลมีหลากหลายอุปกรณ์ ได้แก่
        1. คีย์บอร์ด (Keyboard) อุปกรณ์รับข้อมูลจากการกดแป้นแล้วทำการเปลี่ยนเป็นรหัส เพื่อบอกให้คอมพิวเตอร์รู้ว่ามีการกดตัวอักษรอะไร แผงแป้นอักขระส่วนใหญ่เป็นไปตามมาตรฐานของเครื่องพิมพ์ดีด ซึ่งระบบรับรหัสตัวอักขระที่ใช้ในทางคอมพิวเตอร์เป็นรหัส 7 หรือ 8 บิต (Operator)  ที่มาของภาพ www.comproedu.com
        2. เมาส์ (Mouse) อุปกรณ์นำเข้าข้อมูลโดยการเลื่อนเมาส์เพื่อบังคับตัวชี้ไปยังตำแหน่งต่างๆ บนหน้าจอ เมาส์ที่นิยมใช้มีด้วยกัน 3 ประเภทได้แก่
        - แบบทางกล (Mechanical) ใช้ลูกกลิ้งกลม
        - แบบใช้แสง (Optical mouse)
        - แบบไร้สาย (Wireless Mouse) ที่มาของภาพ ที่มาของภาพ www.nanmeebooks.com
        3.สแกนเนอร์ (Scanner) เป็นอุปกรณ์นำเข้าข้อมูลที่เป็นเอกสาร รูปภาพ หรือ รูปถ่าย สแกนเนอร์สามารถแบ่งออกได้ 3 ประเภท คือ:-
        - แบบเลื่อนกระดาษ (Sheet-Fed Scanner) สแกนเนอร์แบบนี้จะรับกระดาษแล้วค่อย ๆ เลื่อนหน้ากระดาษให้ผ่านหัวสแกนซึ่งอยู่กับที่
ที่มาของภาพ www. banchee.lopburi1.net
        - แบบแท่นนอน (Flatbed scanner) สแกนเนอร์แบบนี้จะมีกลไกคล้ายกับเครื่องถ่ายเอกสาร เหมาะสำหรับใช้กับเอกสารทั้งที่เป็นแผ่นเดียวและเอกสารที่เป็นเล่ม
ที่มาของภาพwww. buycoms.com
        4. แผ่นสัมผัส (Touch Pads) เป็นอุปกรณ์รับข้อมูลโดยการใช้นิ้วสัมผัสลงบนแผ่นสัมผัส น้ำหนักที่กดสงไปจะถูกเปลี่ยนเป็นสัญญาณไฟฟ้า มักเห็นอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ก  www.hackitlinux.com
        5. กล้องดิจิทัล (Digital Camera) เป็นอุปกรณ์รับข้อมูลเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ ที่สามารถแปลงข้อมูลภาพเป็นสัญญาณดิจิทัล มีลักษณะการใช้งานเหมือนกล้องถ่ายภาพทั่วไป แต่ต่างกันตรงที่ไม่ต้องใช้ฟิล์มในการบันทึกข้อมูล ข้อมูลภาพที่ได้สามารถถ่ายลงสู่เครื่องคอมพิวเตอร์และสามารถเรียกดูได้ทันที หรือจะใช้โปรแกรมช่วยตกแต่งภาพให้ดูสวยงามขึ้นก็ได้ www.mxphone.com
    หน่วยความจำ (Memory Unit) 
     เป็นหน่วยจัดเก็บข้อมูลที่ทำงานได้รวดเร็วที่สุด ซึ่งสามารถจำแนกตามลักษณะการใช้งานได้ 2 ประเภท คือ
        1. หน่วยความจำหลัก (Main Memory) หรือเรียกว่า หน่วยความจำภายใน (Internal Memory) สามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่
        - รอม (Read Only Memory - ROM) เป็นหน่วยความจำที่มีโปรแกรมหรือข้อมูลอยู่แล้ว สามารถเรียกออกมาใช้งานได้แต่จะไม่สามารถเขียนเพิ่มเติมได้ และแม้ว่าจะไม่มีกระแสไฟฟ้าไปเลี้ยงให้แก่ระบบข้อมูลก็ไม่สูญหายไป
        - แรม (Random Access Memory) เป็นหน่วยความจำที่สามารถเก็บข้อมูลได้เมื่อมีกระแสไฟฟ้าหล่อเลี้ยงเท่านั้น เมื่อใดไม่มีกระแสไฟฟ้ามาเลี้ยงข้อมูลที่อยู่ในหน่วยความจำชนิดนี้จะหายไป ทันที
        2. หน่วยความจำรอง (Second Memory) หรือหน่วยความจำภายนอก (External Memory) เป็นหน่วยความจำที่ต้องอาศัยสื่อบันทึกข้อมูลและอุปกรณ์รับ-ส่งข้อมูลชนิด ต่างๆ ได้แก่
        - ฮาร์ดดิสก์ (Hard Disk) เป็นฮาร์ดแวร์ที่ทำหน้าที่เก็บข้อมูลในเครื่องคอมพิวเตอร์ ทั้งโปรแกรมใช้งานต่างๆ ไฟล์เอกสาร รวมทั้งเป็นที่เก็บระบบปฏิบัติการที่เป็นโปรแกรมควบคุมการทำงานของเครื่อง คอมพิวเตอร์ด้วย
        - ฟล็อบปี้ดิสก์ (Floppy Disk) เป็นอุปกรณ์บันทึกข้อมูลที่มีขนาด 3.5 นิ้ว มีลักษณะเป็นแผ่นกลมบางทำจากไมลาร์ (Mylar) สามารถบรรจุข้อมูลได้เพียง 1.44 เมกะไบต์ เท่านั้น
        - ซีดี (Compact Disk - CD) เป็นอุปกรณ์บันทึกข้อมูลแบบดิจิทัล เป็นสื่อที่มีขนาดความจุสูง เหมาะสำหรับบันทึกข้อมูลแบบมัลติมีเดีย ซีดีรอมทำมาจากแผ่นพลาสติกกลมบางที่เคลือบด้วยสารโพลีคาร์บอเนต (Poly Carbonate) ทำให้ผิวหน้าเป็นมันสะท้อนแสง โดยมีการบันทึกข้อมูลเป็นสายเดียว (Single Track) มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 120 มิลลิเมตร ปัจจุบันมีซีดีอยู่หลายประเภท ได้แก่ ซีดีเพลง (Audio CD) วีซีดี (Video CD - VCD) ซีดี-อาร์ (CD Recordable - CD-R) ซีดี-อาร์ดับบลิว (CD-Rewritable - CD-RW) และ ดีวีดี (Digital Video Disk - DVD) 
        - รีมูฟเอเบิลไดร์ฟ (Removable Drive) เป็นอุปกรณ์เก็บข้อมูลที่ไม่ต้องมีตัวขับเคลื่อน (Drive) สามารถพกพาไปไหนได้โดยต่อเข้ากับเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วย Port USB ปัจจุบันความจุของรีมูฟเอเบิลไดร์ฟมีตั้งแต่ 8 , 16 , 32 , 64 , 128 จนถึง 1024 เมกะไบต์ ทั้งนี้ยังมีไดร์ฟลักษณะเดียวกัน เรียกในชื่ออื่นๆ ได้แก่ Pen Drive , Thump Drive , Flash Drive
        - ซิบไดร์ฟ (Zip Drive) เป็นสื่อบันทึกข้อมูลที่จะมาแทนแผ่นฟล็อปปี้ดิสก์ มีขนาดความจุ 100 เมกะไบต์ ซึ่งการใช้งานซิปไดร์ฟจะต้องใช้งานกับซิปดิสก์ (Zip Disk) ความสามารถในการเก็บข้อมูลของซิปดิสก์จะเก็บข้อมูลได้มากกว่าฟล็อปปี้ดิสก์
        - Magnetic optical Disk Drive เป็นสื่อเก็บข้อมูลขนาด 3.5 นิ้ว ซึ่งมี ขนาดพอๆ กับฟล็อบปี้ดิสก์ แต่ขนาดความจุมากกว่า เพราะว่า MO Disk drive 1 แผ่นสามารถบันทึกขัอมูลได้ตั้งแต่ 128 เมกะไบต์ จนถึงระดับ 5.2 กิกะไบต์ 
        - เทปแบ็คอัพ (Tape Backup) เป็นอุปกรณ์สำหรับการสำรองข้อมูล ซึ่งเหมาะกับการสำรองข้อมูลขนาดใหญ่มากๆ ขนาดระดับ 10-100 กิกะไบต์
        - การ์ดเมมโมรี (Memory Card) เป็นอุปกรณ์บันทึกข้อมูลที่มีขนาดเล็ก พัฒนาขึ้น เพื่อนำไปใช้กับอุปกรณ์เทคโนโลยีแบบต่างๆ เช่น กล้องดิจิทัล คอมพิวเตอร์มือถือ (Personal Data Assistant - PDA) โทรศัพท์มือถือ เป็นต้น 
หน่วยประมวลผลกลาง(Central Processing Unit - CPU)
    หน่วยประมวลผลกลางหรือซีพียู เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า โปรเซสเซอร์ (Processor) หรือ ชิป (chip) นับเป็นอุปกรณ์ที่มีความสำคัญมากที่สุดของฮาร์ดแวร์ เพราะมีหน้าที่ในการประมวลผลข้อมูลที่ผู้ใช้ป้อน เข้ามาทางอุปกรณ์นำเข้าข้อมูลตามชุดคำสั่งหรือโปรแกรมที่ผู้ใช้ต้องการใช้ งาน หน่วยประมวลผลกลาง ประกอบด้วยส่วนสำคัญ 3 ส่วน คือ
        1. หน่วยคำนวณและตรรกะ (Arithmetic & Logical Unit : ALU) หน่วยคำนวณตรรกะ ทำหน้าที่เหมือนกับเครื่องคำนวณอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยทำงานเกี่ยวกับการคำนวณทางคณิตศาสตร์ เช่น บวก ลบ คูณ หาร อีกทั้งยังมีความสามารถอีกอย่างหนึ่งที่เครื่องคำนวณธรรมดาไม่มี คือ ความสามารถในเชิงตรรกะศาสตร์ หมายถึง ความสามารถในการเปรียบเทียบตามเงื่อนไข และกฎเกณฑ์ทางคณิตศาสตร์ เพื่อให้ได้คำตอบออกมาว่าเงื่อนไข นั้นเป็น จริง หรือ เท็จ ได้
        2. หน่วยควบคุม (Control Unit) หน่วยควบคุม ทำหน้าที่ควบคุมลำดับขั้นตอนการประมวลผล รวมไปถึงการประสานงานกับอุปกรณ์นำเข้าข้อมูล อุปกรณ์แสดงผล และหน่วยความจำสำรองด้วย ซีพียูที่มีจำหน่ายในท้องตลาด ได้แก่ Pentium III , Pentium 4 , Pentium M (Centrino) , Celeron , Dulon , Athlon 
   หน่วยแสดงผล (Output Unit) 
      เป็นอุปกรณ์ส่งออก (Output device) ทำหน้าที่แสดงผลลัพธ์เมื่อซีพียูทำการประมวลผล
        1. จอภาพ (Monitor) เป็นอุปกรณ์แสดงผลลัพธ์ที่เป็นภาพ ปัจจุบันแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ จอภาพแบบ CRT (Cathode Ray Tube) และ จอภาพแบบ LCD (Liquid Crystal Display) 
        2. เครื่องพิมพ์ (Printer) เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่แสดงผลลัพธ์ในรูปของอักขระหรือรูปภาพที่จะไปปรากฏ อยู่บนกระดาษ แบ่งออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่ เครื่องพิมพ์ดอตเมตทริกซ์ (Dot Matrix Printer) เครื่องพิมพ์แบบพ่นหมึก (Ink-Jet Printer) เครื่องพิมพ์แบบเลเซอร์ (Laser Printer) และ พล็อตเตอร์ (Plotter) 
        3. ลำโพง (Speaker) เป็นอุปกรณ์แสดงผลลัพธ์ที่อยู่ในรูปของเสียง สามารถเชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์ผ่านแผงวงจรเกี่ยวกับเสียง (Sound card) ซึ่งมีหน้าที่แปลงข้อมูลดิจิทัลไปเป็นเสียง

  จงเปิดลิ้งก์การเรียนคอมพิวเตอร์ข้างล่างเหล่านี้ขึ้นมาอ่านประกอบ
  http://www.pbps.ac.th/e_learning/combasic/hardware.html
  http://www4.csc.ku.ac.th/~b5340204758/lean3.html
  http://en.wikipedia.org/wiki/Hardware
  http://en.wikipedia.org/wiki/Computer_hardware
  http://www.computerhope.com/jargon/h/hardware.htm
  http://www.tomshardware.com/
  http://www.overclockzone.com/forums/forumdisplay.php/2-General-Hardware
  http://www.webopedia.com/TERM/H/hardware.html
 
http://www.it24hrs.com/2014/fine-experience-index-score-win8-1/

      รูปภาพเกี่ยวกับ Hardware
  https://www.google.co.th/search?q=hardware&biw=1280&bih=909&tbm=isch&tbo=u&source=univ&sa=X&ei=zy9TVf7XJ9a1uQTL34CYCg&ved=0CCgQsAQ&dpr=1
            
       Computer Accessories
   http://www.microsoftstore.com/store/msusa/en_US/cat/PC-accessories/categoryID.69405300
   http://www.amazon.com/Computer-Accessories-Supplies/b?node=172456
   http://www.lazada.co.th/shop-computer-accessories/?gclid=CjwKEAjw7MuqBRC2nNacqJmIpT0SJABQXAOtLunh23ddqs6j58wGTm_luleORymm-MqB7_cVFITCdBoCOxrw_wcB&wt_sn=16690993083_50606993403&wt_snk=Exact_16690993083_computer+accessories&s_kwcid=AL!3152!3!50606993403!e!!g!!computer%20accessories&utm_source=google&utm_medium=sem_non_brand&utm_campaign=%5BSEM-020300000000-00000-00000-0%5D%3A+EN%7CComputer+Accessories&utm_content=computer+accessories&utm_term=%5BSEM-020300000000-00000-00000-0%5D%3A+EN+Computer+Accessories&ef_id=VT6zIwAABI@VqrHX:20150513114121:s
  http://www.bestbuy.com/site/computers-pcs/computer-accessories/abcat0515000.c?id=abcat0515000
  http://www.catthai.com/
  http://accessories.dell.com/sna/category.aspx?c=us&cs=19&category_id=5436
 
http://www.made-in-china.com/products-search/hot-china-products/Computer_Accessories.html

      รูปภาพ Computer Accessories
    https://www.google.co.th/search?q=computer+accessories&biw=1280&bih=909&tbm=isch&tbo=u&source=univ&sa=X&ei=DjdTVdq7F9PJuASuloCgAg&ved=0CCwQsAQ&dpr=1
        Computer Graphic

      
   Computer Graphic คืออะไรComputer Graphic หมายถึง การสร้างและการจัดการกับภาพกราฟิกโดยใช้คอมพิวเตอร์ (ซึ่งโดยมากจะเป็นการแสดงออกทางจอภาพ และเครื่องพิมพ์ชนิดต่างๆ)
   ประวัติความเป็นมาของ Computer Graphic 
  ค.ศ. 1940 คอมพิวเตอร์จะแสดงภาพกราฟิกโดยใช้เครื่องพิมพ์ โดยรูปภาพที่ได้จะเป็นภาพที่เกิดจากการใช้ตัวอักษรมาประกอบกัน 
  ค.ศ. 1950 สถาบัน เทคโนโลยีแห่งแมสซาซูเซสต์ (MIT) ได้พัฒนาคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีหลอดภาพ CRT(Cathode Ray Tube) เป็นส่วนแสดงผลแทนเครื่องพิมพ์ เพื่อให้การติดต่อระหว่างผู้ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์มีความเร็วยิ่งขึ้น
ค.ศ. 1950 ระบบ SAGE (Semi - Automatic Ground Environment) ของกองทัพอากาศ สหรัฐอเมริกาสามารถแปลงสัญญาณจากเรดาร์ให้เป็นภาพบนจอคอมพิวเตอร์ได้ ระบบนี้เป็นระบบกราฟิก เครื่องแรกที่ใช้ปากกาแสง (Light Pen) สำหรับการเลือกสัญลักษณ์ บนจอภาพได้
  ค.ศ. 1963 วิทยา นิพนธ์ปริญญาเอกของ อีวาน ซูเธอร์แลนด์ (Ivan Sutherland) เป็นการพัฒนาระบบการวาดเส้น ซึ่งผู้ใช้สามารถกำหนดจุดบนจอภาพได้โดยตรงโดยการใช้ปากกาแสง ระบบนี้ได้กลายเป็นหลักการพื้นฐานของโปรแกรมช่วยในการออกแบบระบบงานต่างๆ เช่น การออกแบบระบบไฟฟ้า และการออกแบบเครื่องจักร เป็นต้น 
  ค.ศ. 1965 บริษัท ไอบีเอ็ม (IBM) ได้เริ่มผลิตเครื่องคอมพิวเตอร์ออกมาขาย  ทำให้สาขาคอมพิวเตอร์กราฟิกเริ่มเป็นที่สนใจของคนทั่วไป 
  ค.ศ. 1968 บริษัท เทคโทรนิกส์ (Tektronix) ได้ผลิตจอภาพแบบเก็บภาพไว้ได้จนกว่าต้องการจะลบ (Storage - Tube CRT) ซึ่งระบบนี้ไม่ต้องการหน่วยความจำและระบบการวาดซ้ำ จึงทำให้ราคาถูกลง
  ค.ศ. 1970 เป็น ช่วงเวลาที่อุปกรณ์ทางคอมพิวเตอร์เริ่มมีราคาลดลงมาก ทำให้ฮาร์ดแวร์ของระบบคอมพิวเตอร์กราฟิกมีราคาถูกลงตามไปด้วย ผู้ใช้ทั่วไปจึงสามารถนำมาใช้ในงานของตนได้ ทำให้การใช้คอมพิวเตอร์กราฟิกเริ่มแพร่หลายไปในงานด้านต่างๆ มากขึ้น สำหรับซอฟต์แวร์ทางด้านกราฟิกก็ได้มีการพัฒนาควบคู่มากับฮาร์ดแวร์เช่นกัน ซึ่งมีการเริ่มต้นจาก อีวาน ซูเธอร์แลนด์ ผู้ซึ่งได้ออกแบบวิธีการหลักๆ รวมทั้งโครงสร้างข้อมูลของระบบคอมพิวเตอร์กราฟิก ต่อมาก็มี สตีเฟน คูน (Steven Coons, 1966) และ ปิแอร์ เบเซอร์ (Pierre Bazier , 1972) ซึ่งศึกษาเกี่ยวกับการสร้างเส้นโค้งและภาพพื้นผิว ทำให้ปัจจุบันเราสามารถสร้างภาพ 3 มิติ ได้สมจริงสมจังมากขึ้น ในช่วง 10 ปีต่อมาได้มีการพัฒนาวิธีการสร้างภาพมากมายสำหรับใช้ในระบบคอมพิวเตอร์ กราฟิก และปัจจุบันเราก็ได้เห็นผลงานที่สวยงามและแปลกตา ซึ่งเป็นผลจากการศึกษาวิจัยต่างๆ ในอดีตนั่นเอง
  

    คอมพิวเตอร์กราฟิกส์ (computer graphics)  คือ การใช้คอมพิวเตอร์สร้างภาพโดยการวาดภาพกราฟิกหรือนำภาพมาจากสื่ออื่น ๆ เช่น วีดิทัศน์ ภาพยนตร์ กล้องถ่ายรูป ภาพกราฟิกเหล่านี้ประกอบด้วย เส้น สี แสง และเงาต่าง ๆ สามารถแสดงออกทางจอภาพหรือพิมพ์ออกมาทางอุปกรณ์ เช่น เครื่องพิมพ์ได้       นอกจากนี้ยังใช้ในความหมายอื่น เช่น คอมพิวเตอร์วาดภาพซึ่งหมายถึง การใช้ซอฟต์แวร์เกี่ยวกับการวาดภาพสำหรับวาดภาพต่าง ๆ ในคอมพิวเตอร์ และหมายถึงวิชาเรขภาพคอมพิวเตอร์ซึ่งเป็นสาขาหนึ่งในวิชาคอมพิวเตอร์ที่เน้น การใช้คอมพิวเตอร์วาดภาพ และแสดงแผนภูมิที่เกิดจากการป้อนข้อมูลให้คอมพิวเตอร์
   คำว่า กราฟิค (Graphic) มาจากภาษากรีก 2 คำคือ:-       
   1. Graphikos หมายถึง การวาดเขียน       
   2. Graphein หมาย ถึง การเขียนต่อมามีผู้ให้ความหมายของคำว่า “กราฟิกส์” ไว้หลายประการซึ่งสรุปได้ดังนี้      กราฟิกส์ หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้สื่อความหมายด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายข้อมูลได้ถูกต้องตรงตามที่ผู้สื่อสารต้องการ
    กราฟิคประกอบด้วย       
  1. Bitmap เป็น ภาพที่มีการเก็บข้อมูลแบบพิกเซล หรือจุดเล็กๆที่แสดงค่าสี ดังนั้นภาพหนึ่งๆ จึงเกิดจากจุดเล็กๆหลายๆจุดประกอบกัน (คล้ายๆ กับการปักผ้าครอสติก) ทำให้รูปภาพแต่ละรูป เก็บข้อมูลจำนวนมาก เมื่อจะนำมาใช้ จึงมีเทคนิคการบีบอัดข้อมูล ฟอร์แมตของภาพบิตแมพ ที่รู้จักกันดี ได้แก่ .BMP, .PCX, .GIF , .JPG, .TIF       
   2. Vector เป็น ภาพที่สร้างด้วยส่วนประกอบของเส้นลักษณะต่างๆ และคุณสมบัติเกี่ยวกับสีของเส้นนั้นๆ ซึ่งสร้างจากการคำนวณทางคณิตศาสตร์ เช่น ภาพของคน ก็จะถูกสร้างด้วยจุดของเส้นหลายๆ จุด เป็นลักษณะของโครงร่าง (Outline) และสีของคนก็เกิดจากสีของเส้นโครงร่างนั้นๆ กับพื้นที่ผิวภายในนั่นเอง เมื่อมีการแก้ไขภาพ ก็จะเป็นการแก้ไขคุณสมบัติของเส้น ทำให้ภาพไม่สูญเสียความละเอียด เมื่อมีการขยายภาพนั่นเอง ภาพแบบ Vector ที่หลายๆ ท่านคุ้นเคยก็คือ ภาพ .wmf ซึ่งเป็น clipart ของ Microsoft Office นั่นเอง นอกจากนี้ คุณจะสามารถพบภาพฟอร์แมตนี้ได้กับภาพในโปรแกรม Adobe Illustrator หรือ Macromedia Freehand       
   3. Clipart เป็น รูปแบบของการจัดเก็บภาพ จำนวนมากๆ ในลักษณะของตารางภาพ หรือห้องสมุดภาพ  หรือคลังภาพ เพื่อให้เรียกใช้ สืบค้น ได้ง่าย สะดวก และรวดเร็ว       
   4. HyperPicture มัก จะเป็นภาพชนิดพิเศษ ที่พบได้บนสื่อมัลติมีเดีย มีความสามารถเชื่อมโยงไปยังเนื้อหา หรือรายละเอียดอื่นๆ มีการกระทำ เช่น คลิก (Click) หรือเอาเมาส์มาวางไว้เหนือตำแหน่งที่ระบุ (Over)
คอมพิวเตอร์ กราฟฟิกส์     คอมพิวเตอร์กราฟฟิก หมายถึง การสร้าง การตกแต่งแก้ไข หรือการจัดการเกี่ยวกับรูปภาพ โดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในการจัดการ ยกตัวอย่างเช่น การทำ Image Retouching ภาพคนแก่ให้มีวัยที่เด็กขึ้น การสร้างภาพตามจินตนาการ และการใช้ภาพกราฟิกในการนำเสนอข้อมูลต่างๆ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายได้ตรงตามที่ผู้สื่อสาร ต้องการและน่าสนใจยิ่งขึ้นด้วยกราฟ แผนภูมิ แผนภาพ เป็นต้น
  ภาพกราฟิคแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ:-       
 -กราฟิกส์แบบ 2 มิติ (2D) เป็นภาพที่พบเห็นโดยทั่วไป เช่น ภาพถ่าย รูปวาด ภาพ ลายเส้น สัญลักษณ์ กราฟ รวมถึงการ์ตูนต่างๆ ในโทรทัศน์       
 -กราฟิกส์แบบ 3 มิติ (3D) เป็นภาพกราฟิกที่ใช้โปรแกรมสร้างภาพ 3 มิติโดยเฉพาะ เช่น โปรแกรม 3Ds Max โปรแกรม Maya เป็นต้น
     ดังนั้น กราฟิกส์แบบ 2 มิติ คือ ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้สื่อความหมายด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายข้อมูลได้ถูกต้องตรงตามที่ผู้สื่อสารต้องการ โดยมีลักษณะเป็น 2 มิติ คือ สามารถมองเห็นตามแนวแกน X(ความกว้าง) กับ แกน Y(ความยาว) ซึ่งต่างจาก 3 มิติ ซึ่ง 3 มิติ นั้นจะมีแกน Z (ความหนาหรือความสูง) เพิ่มเข้ามา ทำให้เราเห็นเป็นรูปร่างที่ชัดเจนยิ่งขึ้น    

คุณลักษณะของระบบคอมพิวเตอร์สำหรับงานกราฟิกส์     

ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งควรจะมีลักษณะ (specification) ดังนี้        

  1. หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit : CPU) ที่ ทำงานเร็ว เนื่องจากโปรแกรมกราฟิกต้องการการคำนวณจำนวนมาก  หน่วยประมวลผลกลางที่ทำงานเร็วจะทำให้การตอบสนองคำสั่งเป็นไปอย่างรวดเร็ว         

  2. หน่วยความจำที่มีความจุม  เนื่องจากโปรแกรมกราฟิกทำงานกับข้อมูลจำนวนมาก  ถ้าหน่วยความจำมีความจุน้อยเกินไปโปรแกรมอาจจะทำงานช้าหรือไม่ทำงานเลย           3. แผงวงจรแสดงผลที่มีประสิทธิภาพและมีหน่วยความจำบนแผงวงจรจำนวนมาก จำทำให้แสดงภาพได้ด้วยความละเอียดสูงและมีจำนวนสีมาก          

  4. จอภาพที่มีความคมชัดและมีความละเอียดสูง  จะให้ภาพที่ได้คมชัดและสั่นไหวน้อย  ซึ่งจะช่วยรักษาสุขภาพทางตาของผู้ใช้งาน
ที่มา:http://www.vcharkarn.com/include/article/showarticle.php?Aid=33026&page=...http://intreelek2.blogspot.com/

         จงเปิดลิ้งก์ข้างล่างเหล่านี้ขึ้นมาอ่านประกอบ
  
http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%9F%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%AA%E0%B9%8C
   http://en.wikipedia.org/wiki/Computer_graphics
   http://www.netdesign.ac.th/web_graphic/index.php
   http://www.cgw.com/
   http://www.tacga.net/
  
https://www.facebook.com/pages/%E0%B8%84%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%B3-Computer-Graphic-CG/272854142728061
         กราฟิคพิเศษ
  
https://marutict.wordpress.com/category/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%83%E0%B8%8A%E0%B9%89%E0%B9%82%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0
   http://www.slideshare.net/puccanaicemohm/computer-graphics-38681492
  
https://m.se-ed.com/Product/Detail/9789749847046
      ความหมายของคอมพิวเตอร์กราฟิค
 
   http://www.krukikz.com/index.php?option=com_content&view=article&id=132&Itemid=180
     https://graphicedu.wikispaces.com/%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0
     https://www.gotoknow.org/posts/315048
     http://sangrawee1366.blogspot.com/p/1.html
     https://krumaew.wordpress.com/%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%99-2/%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%81%E0%B8
   
http://www.bpic.ac.th/photoShop/text%201.html
       ประโยชน์ของความพิวเตอร์กราฟิค
  http://www.baanjomyut.com/library_2/extension-2/computer_graphic/05.html
   http://webquest.kanokrat.info/?page_id=2639
   http://ohonline.in.th/home/?page_id=1361
   https://docs.google.com/document/d/1-4wFGUfMMFv3sc9NzpK5pBdqOzOkGMbCkI_LQoKEKSM/edit
   http://401-group-immortal.blogspot.com/2012/10/blog-post_6865.html
   http://neverdieclassic.blogspot.com/2013/10/blog-post.html
  
http://tack.igetweb.com/articles/442018/%E0%B8%9E%E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B8%90%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0

          รูปภาพเกี่ยวกับกราฟิค
  https://www.google.co.th/search?q=computer+graphic&biw=1280&bih=909&tbm=isch&tbo=u&source=univ&sa=X&ei=6AJUVdPONsvj8AXR9ILgCw&ved=0CCoQsAQ&dpr=1
     
   วิทยาการคอมพิวเตอร์
 
http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C
   วิทยาการคอมพิวเตอร์คือการศึกษาแนวคิด และทำการพิสูจน์อย่างมีแบบแผนเพื่อ อธิบายระบบและกระบวนการขั้นตอนในการทำงานของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ดิจิตัล อื่น ๆ วัตถุประสงค์ของวิทยาการคอมพิวเตอร์นั้นไม่ต่างจากวิทยาศาสตร์สาขาอื่น คือ เพื่อให้ทฤษฎีที่เกิดขึ้นในสาขาวิชาถูกนำมาใช้ในการสร้างอุปกรณ์และนวัตกรรม ที่ใช้ได้ในสถานการณ์จริง ซึ่งอาจนำมาสู่ระบบใหม่ ๆ ที่รองรับการศึกษาและวิเคราะห์เพื่อต่อยอดในสาขาวิชาต่อไป
พื้นฐานคณิตศาสตร์

   วิทยาการคอมพิวเตอร์เชิงทฤษฎี

     ฮาร์ดแวร์

   ซอฟต์แวร์

    ระบบข้อมูลและสารสนเทศ

  ระเบียบวิธีคำนวณด้วยคอมพิวเตอร์

    ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ

     วิทยาการคณนาวิทยาการคณนา (Computational Science) เป็นศาสตร์ด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ผสมผสานกับการนำคณิตศาสตร์ไป ใช้จำลองและแก้ปัญหาอย่างมีประสิทธิภาพ การคำนวณที่แม่นยำและรวดเร็วทำให้สามารถนำผลลัพธ์ไปใช้ประโยชน์ได้ทันการใน การพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมที่ต้องการเทคโนโลยีขั้นสูง สาขาที่เกี่ยวข้องวิทยา การคอมพิวเตอร์ หรือศาสตร์คอมพิวเตอร์มีความสัมพันธ์กับสาขาอื่น ๆ อีกหลายศาสตร์ ถึงแม้ว่าในแต่ละศาสตร์ จะครอบคลุมเนื้อหาที่เหมือนกันอยู่อย่างเห็นได้ชัด แต่ว่าแต่ละศาสตร์ หรือสาขาก็จะมีลักษณะสำคัญ และระดับของการศึกษ การวิจัย และการประยุกต์ใช้แตกต่างกันไปจากสาขาอื่น ๆ

  • วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ เป็น การศึกษาเกี่ยวกับ การใช้หลักการวิศวกรรม ซึ่งเริ่มตั้งแต่การเก็บความต้องการ การออกแบบ การสร้าง การทดสอบ วิเคราะห์ จนถึงการบำรุงรักษาอย่างมีประสิทธิภาพ สำหรับระบบคอมพิวเตอร์ หรือ ระบบอุปกรณ์ ซึ่งต้องใช้ความรู้ทั้งซอฟต์แวร์ ฮาร์ดแวร์ การสื่อสาร ควบคู่กับความรู้ทางด้านวิศวกรรม
  • วิศวกรรมซอฟต์แวร์ (วิศวกรรม ส่วนชุดคำสั่ง) เน้นที่กระบวนการวิศวกรรมสำหรับระบบซอฟต์แวร์ขนาดใหญ่ โดยเริ่มด้วยการวิเคราะห์ความต้องการ, การออกแบบ, การพัฒนา, การทดสอบ ตลอดจนถึงการบำรุงรักษาระบบซอฟต์แวร์
  • วิทยาการสารสนเทศ (สารสนเทศศาสตร์) เป็นการศึกษาเกี่ยวกับภาคทฤษฎีสารสนเทศ เริ่มตั้งแต่การรับรู้, การทำความเข้าใจ, การวิเคราะห์, การจัดเก็บ, การค้นคืน, การสร้าง, การโต้ตอบ, การสื่อสาร, และ การจัดการข้อมูลและสารสนเทศ
  • เทคโนโลยีสารสนเทศ เน้นการประยุกต์ใช้สารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดกับสังคม ธุรกิจ องค์กร หรืออุตสาหกรรม
  • ระบบสารสนเทศ เป็น การศึกษาการใช้งานคอมพิวเตอร์ สำหรับระบบการทำงานที่อาศัยข้อมูลสารสนเทศ เพื่อจุดประสงค์ในการช่วยเหลือสนับสนุน การดำเนินงานต่าง ๆ ภายในองค์กร โดยคำประยุกต์ใช้งานนั้น จะมีความหมายครอบคลุมถึง การออกแบบ, ใช้งาน, การติดตั้ง, และการบำรุงรักษา ไม่ว่าจะเป็นคอมพิวเตอร์, ซอฟต์แวร์, เครือข่าย, บุคลากร หรือข้อมูล

                [PPT]Download เนื้อหาวิชาหน่วยที่ 2
          สอนซ่อมคอมพิวเตอร์
  
http://www.webkcom.com/
     http://www.daycoms.com/
     http://www.itcomtech.net/computer-training.html
     http://www.comnetsite.com/fix-com-tech.php
    http://www.pantown.com/group.php?display=content&id=505&name=content15&area=
    http://www.pantipmarket.com/items/13984381
    http://news.thaiware.com/5594.html
   
https://drive.google.com/folderview?id=0B61tG6L-ytVEQXlwaEZsVUpoOW8&usp=sharing

     คู่มือการซ่อมคอมพิวเตอร์ด้วยตนเอง
       http://www.bict.moe.go.th/2516/doc/4_3.pdf
       ส่วนประกอบภายในของคอมพิวเตอร์
    http://intranet.gs.kku.ac.th/km/index.php?option=show&id=5
     เรียนซ่อมและประกอบคอมพิวเตอร์จาก Youtube
   https://www.youtube.com/watch?v=RIRqXunrsic
   https://www.youtube.com/watch?v=uZEmnKQ_Fuk
   https://www.youtube.com/watch?v=cakPWOkAWOg
   https://www.youtube.com/watch?v=jJAEdXfE1_4
   https://www.youtube.com/watch?v=jV5h7jVGv2A
  
https://www.youtube.com/watch?v=sNsqYdj90vo

      วิธีประกอบคอมพิวเตอร์
  
วิธีการประกอบคอมพิวเตอร์ - watcharintr - Sites - Google   
  
ขั้นตอนการประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
  
อยากประกอบเครื่องเอง ลองดูครับ วิธีประกอบคอม - Overclockzone
  
[PDF]
ารประกอบคอมพิวเตอร์
  
จัดสเปคคอม ราคาคอมพิวเตอร์ ประกอบคอมด้วยตัวเอง ตรวจสเปค ... 
  
การประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์ - ฮาร์ดแวร์และยูทิลิตี้
  
บทที่-6 การประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์ - project.kusoom.com
 
  
[PPT]pptx
  
วิธีประกอบคอมพิวเตอร์ - YouTube

  
รูปภาพสำหรับ ประกอบคอมพิวเตอร์
   ขั้นตอนการประกอบคอมพิวเตอร์เบื้องต้น - YouTube
   วิธีการประกอบเครื่องคอมพวเตอร์+พร้อมรูปประกอบ - Wunjun Group

      https://www.youtube.com/watch?v=y97vC2Q9xMo
    เรียนวิธีการสร้างภาพการ์ตูน
  https://www.youtube.com/watch?v=lKQSYqyJgnw
  http://www.enjoylike.com/forum/forum/Animoids+3D+Movie+Maker
  https://www.youtube.com/watch?v=zjx_CORwPfE
  http://www.kroojan.com/flash/content/animate/shape-tween.html
  https://www.youtube.com/watch?v=poy3w7Vekxs
  http://www.kroojan.com/flash/content/animate/frame-by-frame.html   

              วิธีใช้คีย์บอร์ดคอมพิวเตอร์

      
  1.สร้างไฟล์เอกสารใหม่  ให้กดที่ปุ่ม Ctrl  +  ปุ่มตัว N
  2.เปิดไฟล์เอกสาร  ให้กดปุ่ม Ctrl  +  ปุ่มตัว O
  3.บันทึกไฟล์เอกสารเอาไว้  ให้กดปุ่ม  Ctrl  +  ปุ่มตัว  S
  4.บันทึกเอกสารคือ  Save  as  ให้กดปุม  F 12
  5.การเลือกไฟล์เอกสารทั้งหมด  ให้กดปุ่ม  Ctrl  +  ปุ่ม  A
  6.การตัดไฟล์เอกสาร (Cut)  ให้กดปุ่ม  Ctrl  +  ปุ่ม  x
  7.การก๊อปปี้ข้อมูลของเอกสาร (copy)  ให้กดปุ่ม  Ctrl  +  ปุ่มตัว  C
  8.การวางข้อมูลเอกสาร (pase)  ห้กดปุ่ม  Ctrl  +  ปุ่ม  V
  9.การคัดลอกข้อมูลทั้งหมดและการวางข้อมูลเอกสารทั้งหมดลงในไฟล์เอกสารใหม่  ให้กดปุ่ม  Ctrl  +  A  +  C  +  N  +  V
  10.select  text  around   =เลือกข้อความรอบๆตัว
        -Select  text  where  cursor  is  placed.    (Shift  +  Arrows)
          =เลือกข้อความที่วางเคอร์เซอร์
       Jumping  through  text   =กระโดดผ่านข้อความ
       -Move  cursor  to  start  to  doc.   (Ctrl  +  Home)  =เลื่อนเคอร์เซอร์เพื่อเริ่มต้นเอกสาร
       -Move  cursor  to  end  of  doc.    (Ctrl  +  End)  =เลื่อนเคอร์เซอร์ไปที่ท้ายเอกสาร         
         Grabbing  text     =การจับข้อความ
      -Select  whole  line  left  curser    (Shift  +  Home)   =เลือกเคอร์เซอร์ซ้ายทั้งหมด
      -Select  whole  line  right  of  curser     (Shift  +  End)     =เลือกเคอร์เซอร์ขวาทั้งหมด
          Fixing  a  mistake     =การซ่อมข้อผิดพลาด
     -Undo                      (Ctrl  +  Z)     =แก้
     -Delete  word  after  curser     (Ctrl  +  Delete)     =ลบคำหลังเคอร์เซอร์
     -Delete  word  before  curser     (Ctrl  +  backspace =ปุ่มยัอนถอยหลัง)     =ลบคำก่อนเคอร์เซอร์
         Using  the  interwebs     = การใช้ interwebs
    -Open  a  new  tab     (Ctrl  +  T)      =เปิดแถบใหม่
    -Jump  to  the  address  bar     (Ctrl  +  L)     =ข้ามไปยังแถบที่อยู่
        Switching  &  Closing  tabs     =การเปิดและการปิดแถบ
    -Quickly  switch  programs     (Alt  +  Tab)     =เปิดรายการอย่างรวดเร็ว
    -Quickly  close  window     (Ctrl  +  F 4)     =ปิดหน้าต่างอย่างรวดเร็ว
    -Quickly  return  to  destop     (ปุ่มเครื่องหมาย Microsoft  +  D)     =กลับไปพื้นหลังคอมพิวเตอร์อย่างรวดเร็ว
วิธีการใช้งาน คีย์บอร์ด สำหรับสั่งงานต่างๆ แทนเมาส์ทำให้ทำงานเร็วขึ้นสามเท่า   
    งานบริการการศึกษา ได้จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการศึกษา ในเรื่อง “วิธีการใช้งาน คีย์บอร์ด สำหรับสั่งงาน
ต่างๆ แทนเมาส์ทำให้ทำงานเร็วขึ้นสามเท่า” วันที่ 10 ตุลาคม 2555 โดย นางสาวสุชลิตา  ยืนนาน  ซึ่งสามารถสรุปสาระสำคัญ
ได้ดังนี้
    นางสาวสุชลิตา  ยืนนาน  มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่อง “วิธีการใช้งาน คีย์บอร์ด สำหรับสั่งงานต่างๆ แทนเมาส์ทำให้ทำงาน
เร็วขึ้นสามเท่า” เพื่อเป็นอีกแนวทางหนึ่งในการกระชับเวลาจากการใช้คอมพิวเตอร์ในการปฏิบัติงานประจำวัน   ซึ่งสามารถ
ปฏิบัติงานได้รวดเร็วยิ่งขึ้น  มีเวลาเหลือที่สามารถนำไปปฏิบัติงานชิ้นอื่นได้ ทำให้ได้ปริมาณงานเพิ่มขึ้น  เกิดผลดีในด้านต่างๆ ต่อผู้ปฏิบัติงานและองค์กร
วิธีการใช้งาน คีย์บอร์ด สำหรับสั่งงานต่างๆ แทนเมาส์ทำให้ทำงานเร็วขึ้นสามเท่า   ปกติแล้ว การใช้งานระบบปฏิบัติการ Windows มักจะมีการสั่งงานต่างๆ โดยใช้การกดปุ่มบน เมาส์ เป็นส่วนมาก ซึ่งบางครั้ง กว่าที่จะทำการสั่งงาน โดยใช้เมาส์เลื่อนไปยังตำแหน่งที่ถูกต้อง กว่าจะกด กว่าจะเลือกเมนูต่างๆ อาจจะไม่ทันใจกับผู้ใช้
งาน ที่ใจร้อนบางท่าน ยังมีอีกวิธีที่เราจะสามารถสั่งงาน Windows ต่าง ๆ โดยการใช้ปุ่ม คีย์ลัด หรือ Short Key ของระบบ
Windows แทนการใช้เมาส์ ที่จะช่วยให้การสั่งงานแบบพื้นฐานต่าง ๆ ทำได้รวดเร็วขึ้น
    Short Key คืออะไร
    หมายถึง การกดแป้นหนึ่งหรือหลาย ๆ แป้นพร้อมกัน ที่กำหนดไว้เป็นพิเศษให้เครื่องทำหน้าที่พิเศษบางอย่างได้ ยกตัวอย่าง
เช่น การใช้งานโปรแกรม Internet Explorer เมื่อต้องการจะสั่งให้มีการเปิดหน้าต่างใหม่ ปกติจะต้องใช้เมาส์ เลือกที่
เมนู File เลือกที่ New และกดที่ Windows เพื่อเปิดหน้าต่างใหม่ แต่ในการใช้ Short Key จะสามารถทำได้ง่าย ๆ โดย
เพียงแค่กดปุ่ม Ctrl และ N พร้อมกัน ซึ่งจะให้ผลที่เหมือนกันทุกประการ โดยที่ใช้เวลาน้อยและสะดวกกว่าการใช้เมาส์มาก
   Short Key มาตราฐานของระบบ Windows
   ส่วนใหญ่ จะเป็นมาตราฐานเดียวกัน ซึ่งในบางครั้ง การใช้งานซอฟต์แวร์บางตัวที่เขียนสำหรับ Windows ก็อาจจะใช้
คีย์แบบเดียวกันนี้  เพื่อให้ง่ายต่อการจดจำ ทดลองใช้งานบ่อยๆ แล้วจะคุ้นเคยเอง
  Alt + Tab    ใช้สำหรับการเปลี่ยนหน้าต่างของซอฟต์แวร์ ที่เปิดใช้งานอยู่ในขณะนั้น
  Ctrl + Esc    ใช้สำหรับเรียก Start Menu ขึ้นมาใช้งาน
  Alt + F4    ใช้สำหรับปิดหรือออกจากโปรแกรม (Close) ที่เปิดใช้งานอยู่ขณะนั้น
  Ctrl + Alt + Del    ใช้สำหรับการสั่งบูทเครื่องใหม่ กรณีที่ไม่สามารถสั่งงานต่าง ๆ ได้แล้ว
  Print Screen      ใช้สำหรับการเก็บภาพหน้าจอขณะนั้นเก็บไว้ โดยจะนำไป past วางในโปรแกรมแต่งภาพได้
  Alt     ใช้สำหรับการเรียก เมนูด้านบน โดยจะต้องใช้ปุ่มลูกศร สำหรับการเลือกทำงานควบคู่กันไปด้วย
  Esc     ใช้สำหรับการยกเลิกการทำงาน หรือออกจากการตั้งค่าต่าง ๆ หรือแทนคำว่า Cancel เป็นส่วนมาก
  Enter     ใช้สำหรับการยอมรับ หรือแทนการกด OK เป็นส่วนมาก
  Space Bar     ใช้สำหรับการเลือกบนปุ่มที่มีการ high light ไว้ จะใช้งานคล้าย ๆ กับปุ่ม Enter
  Ctrl + Home     ใช้สำหรับการเลื่อน Scrool Bar ไปที่ตำแหน่งแรกของหน้าต่างนั้น
  Ctrl + End      ใช้สำหรับการเลื่อน Scroll Bar ไปที่ตำแหน่งท้ายสุดของหน้าต่างนั้น
  Shift + ปุ่มลูกศร    มักจะใช้แทนการเลือก ช่วงของตัวอักษรหรือข้อความนั้น สำหรับการแก้ไขหรือการ copy
  F1  มักจะใช้แทนความหมายของการเรียก Help File ขึ้นมาช่วยเหลือ
  F2   มักจะใช้แทนความหมายของการ Rename ชื่อไฟล์ หรือการแก้ไขข้อความต่างๆ
  F3 หรือ Ctrl + F3     ใช้สำหรับการค้นหาต่าง ๆ
  Ctrl + F     ใช้สำหรับการค้นหาต่าง ๆ คล้ายกันกับ F3
  Ctrl + A     ใช้สำหรับการเลือกทั้งหมดหรือแทนคำว่า Select All
  Ctrl + C     ใช้สำหรับการ copy ภาพหรือตัวอักษรที่เลือก เก็บไว้
  Ctrl + X     ใช้สำหรับการ cut ภาพหรือตัวอักษรที่เลือก เก็บไว้
  Ctrl + V     ใช้สำหรับการ past ภาพหรือตัวอักษรที่ได้เก็บไว้จากการ copy หรือ cut
   วิธีเรียกแป้นพิมพ์ขึ้นมาใช้งาน
 1.กดที่ Start
 2.กดที่เมนู  run
 3.ให้พิมพ์คำว่า "OSK"  ลงไปที่ช่อง  run  แล้วกด  OK 
 4.เมื่อได้โปรแกรมแป้นพิมพ์แล้วให้กดที่ปุ่ม Minimize ข้างบนด้านซ้ายมือ
 5.ให้คลิกที่ไฟล์เอกสารที่จะพิมพ์ขึ้นมา
 6.ให้กดปุ่ม Minimize  ที่เซพไว้ที่ Taskbar  ขึ้นมาใช้  เสร็จแล้วให้เริ่มพิมพ์ข้อมูลตามที่ต้องการได้เลย

     วิธีซ่อมและแก้ไขคีย์บอร์ด

  https://www.ba-na-na.net/%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%98%E0%B8%B5%E0%B9%83%E0%B8%8A%E0%B9%89-keyboard

  https://www.youtube.com/watch?v=9dpjJRgYFPk

  https://www.youtube.com/watch?v=0CdXEzl7dlQ&t=328s

  https://www.youtube.com/watch?v=EiFldnPrP7M

  https://www.youtube.com/watch?v=1JwfqFDBCk8

                Computer From Pinterest

 

  https://www.pinterest.com/sumeiya14/computers/?utm_campaign=rdboards&e_t=9e1da5aaadd64a25837a1b68507e453b&utm_content=351632752095243218&

  https://www.pinterest.com/pin/68731352584/

  https://www.pinterest.com/pin/5911043247601172/?utm_campaign=popular_pins&e_t=7873e64e784e43dab68adf33e4fc169d&utm_content=5911043247601172&utm_source=31&utm_term=13&utm_medium=2012

  https://www.pinterest.com/pin/60376451235026614/?utm_campaign=popular_pins&e_t=7873e64e784e43dab68adf33e4fc169d&utm_content=60376451235026614&utm_source=31&utm_term=7&utm_medium=2012

  https://www.pinterest.com/pin/633387431742251/?utm_campaign=popular_pins&e_t=7873e64e784e43dab68adf33e4fc169d&utm_content=633387431742251&utm_source=31&utm_term=6&utm_medium=2012

 

              เรียนคอมพิวเตอร์ออนไลน์

   

  http://www.dumon-vfx.com/?gclid=EAIaIQobChMIq9zTlry_4QIVUQ4rCh2plQGvEAAYASAAEgLJFPD_BwE

  https://www.krui3.com/

  https://itexcellent.com/course_comstarter.php?gclid=EAIaIQobChMIlOrBjry_4QIVbRHTCh1bcgELEAAYAiAAEgIER_D_BwE

  https://www.youtube.com/watch?v=fSIChGhqacg

  https://www.youtube.com/watch?v=Vx07GvZ04Ek

  https://www.youtube.com/watch?v=37zRKMTwxG4

     

  https://learning.sanook.com/computer/

  https://www.skilllane.com/categories/Computer

  https://www.facebook.com/onlinetraining.in.th/

  https://www.facebook.com/%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%9F%E0%B8%A3%E0%B8%B5-105209402974662/

  https://www.itgenius.co.th/search/tag/%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%9E%E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B8%90%E0%B8%B2%E0%B8%99

  https://www.opendurian.com/totaltcas/?gclid=EAIaIQobChMI2bqm2u6_4QIV1jUrCh1OzgQIEAAYASAAEgLhI_D_BwE

  https://www.youtube.com/watch?v=OQ94KE_RKA0

  https://www.skilllane.com/?utm_source=Google&utm_medium=SEM&utm_content=60917169571&utm_term=%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B9%84%E0%B8%A5%E0%B8%99%E0%B9%8C&utm_campaign=Skl_SEM_Gn&gclid=EAIaIQobChMI2bqm2u6_4QIV1jUrCh1OzgQIEAMYAyAAEgJfmPD_BwE

  https://www.itgenius.co.th/article/tag/%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%88%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A2%E0%B9%8C%E0%B8%AA%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C

         เรียนคอมพิวเตอร์เบื้องต้น

   

  http://lesson-online57.orgfree.com/

  http://getonline2015.blogspot.com/2015/11/blog-post.html

 

                     วิธีทำความสะอาด CPU

   

                

                                        นี่คือ CPU

      
      วิธีการทำความสะอาด : CPU

ซีพียู (CPU : Central Processing Unit) เป็นหน่วยประมวลผลกลางซึ่งถือว่าเป็นหัวใจหลักของ
คอมพิวเตอร์เลยทีเดียว นอกจากนั้นซีพียูยังเป็นอุปกรณ์ชิ้นส่วน ที่หายากมากอีกด้วย จึงควรแก่การดูแลรักษา สาเหตุหลักที่ซีพียูทำงานได้สั้นลง คือพัดลมระบายอากาศ หากเสียหาย การทำงานของซีพียูก็จะมีความร้อนสูง ทำให้ซีพียูเสียได้ง่ายและไม่สามารถซ่อมหรือแก้ไขได้อีก จึงต้องรักษาทำความสะอาดอยู่เสมอ
วิธีทําความสะอาดซีพียู
    1. เมื่อเปิดซิงค์ได้แล้ว นำอะไรก็ได้มาดักใบพัดลมไว้เพื่อป้องกันใบพัดลมเสีย แล้วนำแปรงขนนุ่มๆขัดทำความสะอาดฝุ่นออกให้หมดทุกซอกทุกมุม หรืออาจจะใช้ไดร์เป่าผมเป่า ควรใช้ผ้าปิดจมูกเพื่อป้องกันฝุ่นละออง
    2. ใช้ผ้าสะอาดชุบน้ำหมาดๆ ค่อยๆเช็ดใบพัดลมไปทีละนิดให้สะอาด
    3. เมื่อทำความสะอาดพัดลมและซิงค์เสร็จ น้ำผ้ามาเช็ดตัวซีพียูที่อยู่บนเมนบอร์ดให้สะอาด เน้นตรงช่วงต่อระหว่างซิงค์กับซีพียู จะมีรอยคล้ายๆคราบลิขวิด
    4. จากนั้นก็ทำการทาซิลิโคนบนตัวซีพียูที่อยู่บนเมนบอร์ด ควรทาซิลิโคนให้สังเกตรอยต่อซิงค์ หากเป็นวงกลมให้ทาเป็นจุดกลมๆ หรือถ้าหากเป็นรูปสี่เหลี่ยมให้ทาเป็นรูปกากบาท ไม่แนะนำให้ทาเยอะเกินไป เพราะถ้าหากประกอบซิงค์จะทำให้ซิลิโคนกระจายได้
    5. ประกอบซิงค์ สังเกตดูขาล็อกให้แน่น ที่สำคัญอย่าลืมเสียบปลั๊กเพราะจะทำให้พัดลมไม่ทำงาน ซีพียูมีความร้อนและอาจจะพังได้

     https://www.youtube.com/watch?v=nUkQrazmZZk

     https://www.youtube.com/watch?v=qOg0FqD8_S4

     https://www.youtube.com/watch?v=jXsmclU9Nqs

    https://www.youtube.com/watch?v=0O2ngPeMxAs

              การซ่อมคอมพิวเตอร์

     https://www.youtube.com/watch?v=bMj-LXaHRSc

 

 

 

 

 

เนื้อหาของบทความหรือสินค้าโดยละเอียด

กรุณาใส่ข้อความ …

Visitors: 139,924