1.วิทยานิพนธ์ปริญญาโท

 Thesis  วิทยานิพนธ์

    

ส่วนประกอบของวิทยานิพนธ์
      1. ส่วนนำ
      2. ส่วนเนื้อความ
      3. ส่วนเอกสารอ้างอิงหรือบรรณานุกรม
  ส่วนประกอบของวิทยานิพนธ์วิทยานิพนธ์มีส่วนประกอบใหญ่ๆ 3 ส่วนด้วยกัน คือ ส่วนนำ ส่วนเนื้อความ และส่วนเอกสารอ้างอิงหรือบรรณานุกรม
   ส่วนนำ (Preliminaries) มักประกอบด้วย ปกวิทยานิพนธ์ ใบรองปก และหน้าปกใน ซึ่งจะบอกเกี่ยวกับ ชื่อหัวข้อวิทยานิพนธ์ ผู้แต่งอาจารย์ที่ปรึกษา และ สถาบันที่เป็นเจ้าของวิทยานิพนธ์นั้น ต่อด้วยหน้าอนุมัติ ซึ่งเป็นหน้าสำหรับกรรมการตรวจและสอบ
วิทยานิพนธ์ลงนามเพื่ออนุมัติรับรอง วิทยานิพนธ์ และตามด้วยส่วนสำคัญของส่วนนำ คือ บทคัดย่อ ซึ่งเป็นการสรุปสาระสำคัญของวิทยานิพนธ์ทั้งเล่มแบบสั้นๆ เพื่อเป็นแนวทางให้ผู้อ่านทราบถึงเนื้อหาของวิทยานิพนธ์ ในส่วนนำจะมีสารบัญต่างๆ ปิดท้าย อาทิ
สารบัญเนื้อหา สารบัญตาราง สารบัญภาพวิทยานิพนธ์บางเล่มจะมีกิตติกรรมประกาศ ใน ส่วนนำด้วย มักจะอยู่ก่อนหน้าบทคัดย่อ กิตติกรรมประกาศเป็นส่วนที่ผู้เขียนวิทยา
นิพนธ์บรรยายแสดงความขอบคุณผู้ที่ ให้ความช่วยเหลือในการศึกษาค้นคว้าและจัดทำวิทยานิพนธ์ อาทิเช่น ขอบคุณผู้มีพระคุณ บิดามารดา และอาจารย์ที่ปรึกษา เป็นต้น
  ส่วนเนื้อความ(Text) คือส่วนที่เป็นเนื้อหาสาระของวิทยานิพนธ์ เป็นการพรรณนาขั้นตอน วิธีการ และผลการศึกษาวิจัย โดยส่วนเนื้อความมักประกอบด้วยเนื้อหาหลักๆ 3 ส่วน คือ:-

     1.บทนำ 
     2.ตัวเรื่อง

     3.บทสรุป
     บทนำ (Introduction) เป็นส่วนที่ผู้เขียนใช้อธิบายถึง ที่มาและความสำคัญของปัญหาที่นำไปสู่การค้นคว้าวิจัย และสรุปสาระสำคัญของสิ่งที่จะทำการศึกษาวิจัยจากเอกสารที่เกี่ยวข้อง ซึ่งเป็นส่วนที่ให้ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเรื่องที่จะทำการค้นคว้าวิจัย จากนั้นเป็นการกล่าวถึง หลักการ ทฤษฎี ตัวแบบ แนวเหตุผล ที่จะใช้อ้างอิงหรือเป็นหลักเกณฑ์ในการสนับสนุนผลการศึกษาวิจัยที่ค้นคว้าวิจัยมาได้ จากนั้นกล่าวถึงวัตถุประสงค์ของการวิจัย ขอบเขตของการศึกษาวิจัย และ นิยามศัพท์ เพื่ออธิบายคำศัพท์ที่ได้กำหนดขึ้นโดยมีความหมายเฉพาะตัวสำหรับการค้นคว้าวิจัยนั้นๆ เท่านั้น ในส่วนบทนำของบางเล่มจะมีสมมุติฐาน เพื่อเป็นการคาดคะเนถึงผลการค้นคว้าวิจัย ที่สอดคล้องวัตถุประสงค์ของการวิจัยนั้นๆ ด้วย
    ตัวเรื่อง (Body of the text) วิทยานิพนธ์แต่ละสาขาวิชา จะมีแบบฉบับในการเขียนเนื้อหาตัวเรื่องแตกต่างกันไป ส่วนประกอบหลักๆ ของตัวเรื่องมักประกอบด้วย การอธิบายวิธีดำเนินการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย จากนั้นจึงกล่าวโดยละเอียดถึงผลที่ได้จากการค้นคว้าวิจัยด้วยวิธีการต่างๆ ตามวิธีดำเนินการวิจัย หลังจากกล่าวถึงผลที่ได้จากการค้นคว้าวิจัยแล้ว ก็จะเป็นส่วนสาระสำคัญของตัวเรื่อง คือการอภิปรายผลการวิจัย ซึ่งเป็นการวิจารณ์หรือการอภิปรายผลการวิจัยเพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมายหรือวัตถุประสงค์ของการวิจัย การวิจารณ์หรือการอภิปรายผลการวิจัย มักเป็นการอธิบายให้ผู้อ่านเห็นคล้อยตามความสัมพันธ์ของ หลักการ ทฤษฎี ตัว แบบ แนวเหตุผล หรือกฎเกณฑ์ ที่สอดคล้องกับผลของการค้นคว้าวิจัย หรือนำเสนอให้ผู้อ่านเห็นความสำคัญของผลการศึกษาวิจัยที่สนับสนุนหรือคัด ค้านสมมุติฐานที่มีผู้เสนอมาก่อนหรือที่ผู้เขียนสร้างขึ้น นอกจากนี้ยังสามารถยกตัวอย่างเปรียบเทียบผลการค้นคว้าวิจัยของผู้เขียนกับ ของบุคคลอื่นโดยเน้นปัญหาหรือข้อโต้แย้งในสาระสำคัญของเรื่อง ทั้งนี้การเขียนตัวเรื่องอาจสอดแทรกเนื้อหาบางอย่างในส่วนท้าย เช่น ชี้ให้เห็นข้อดีข้อเสียของวัสดุอุปกรณ์และวิธีการที่ใช้ในการค้นคว้าวิจัย นำเสนอปัญหาและอุปสรรคในการค้นคว้าวิจัย แนะนำแนวทางที่จะนำผลการค้นคว้าวิจัยไปใช้ให้เกิดประโยชน์ หรือเสนอคำแนะนำสำหรับการแก้ปัญหา หรือปรับปรุงสถานการณ์ที่ได้จากการค้นคว้าวิจัย รวมทั้งเสนอแนวความคิดปัญหาหรือหัวข้อใหม่สำหรับการค้นคว้าวิจัยต่อไป
   บทสรุป (Conclusion) เป็นส่วนที่นำเสนอผลการค้นคว้าวิจัยโดยสรุปเป็นประเด็นสาระสำคัญของผลของการ ศึกษาวิจัยผู้เขียนสามารถอธิบายแนวคิดสำคัญที่ได้จากการศึกษาวิจัย และวิพากษ์วิจารณ์ผลการวิจัยพร้อมทั้งแนะนำแนวทางแก้ไขปัญหาโดย
สรุปได้ส่วนเอกสารอ้างอิงหรือบรรณานุกรม(References or Bibliography) จะแสดง
รายชื่อหนังสือ เอกสาร สิ่งพิมพ์ บุคคล และวัสดุต่างๆ ที่ใช้ในการศึกษา ค้นคว้า วิจัย และที่ได้อ้างถึงในส่วนนำและเนื้อความ เพื่อให้ผู้สนใจสามารถค้นคว้าข้อมูลเหล่านั้นในเชิงลึกต่อไป
   วิทยานิพนธ์บางเล่มอาจมี ภาคผนวก (Appendix) เพื่อใช้นำเสนอข้อมูลต่างๆ หรือสิ่งที่จะช่วยให้เข้าใจสาระของวิทยานิพนธ์ดียิ่งขึ้น เนื้อหามักประกอบด้วยเอกสารข้อเท็จจริงต่างๆ ดังนี้ ข้อมูลเพิ่มเติมในส่วนเนื้อเรื่อง ข้อมูลเพิ่มเติมที่ได้จากการปฏิบัติการ เช่น
การทดลอง การศึกษาเฉพาะกรณี สำเนาเอกสารหายาก คำอธิบายระเบียบวิธี กระบวนการและวิธีการรวบรวมข้อมูล แบบฟอร์ม แบบสำรวจ แบบสอบถามที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในวิทยานิพนธ์ คำอธิบายเกี่ยวกับขั้นตอน หรือ
วิธีการ นามานุกรม (directory) ของบุคคลที่อ้างถึงในวิทยานิพนธ์ หน้า สุดท้ายของวิทยานิพนธ์ มักมีประวัติผู้เขียน (Curriculum vitae หรือ Vita) ซึ่งเป็นรายละเอียดเกี่ยวกับประวัติการศึกษาและการทำงานของผู้เขียน ประวัติผู้เขียนโดยทั่วไป ประกอบด้วย ชื่อ นามสกุล พร้อมคำนำหน้า ได้แก่ นาย นางสาว นาง ยศ บรรดาศักดิ์ ราชทินามสมณศักดิ์ พร้อมทั้งวันเดือนปีและสถานที่เกิด วุฒิการศึกษาตั้งแต่ระดับปริญญาตรี หรือเทียบเท่าขึ้นไป สถานศึกษา และ พ.ศ. ที่สำเร็จการศึกษา รวมทั้งประสบการณ์ ผลงานทางวิชาการ รางวัล หรือทุนการศึกษาเฉพาะที่สำคัญ ตำแหน่งและสถานที่ทำงานของผู้เขียนปัจจุบัน ในการจัดการบรรณานุกรม สามารถใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยในการจัดการบรรณานุกรม หรือรายการที่นำมาอ้างอิงได้ ตัวอย่างเช่น โปรแกรม EndNote Procite ซึ่งช่วยอำนวยความสะดวกในการลงรายการอ้างอิงที่สมบูรณ์และถูกต้อง

    Thesis Of Genetic Comparison
          Introduction

    Comparative genomics is an exciting field of biological research in which researchers use a variety of tools, including computer-based analysis, to compare the complete genome sequences of different species. By carefully comparing characteristics that define various or ganisms - including the genomes of organisms ranging from humans to chimpanzees to yeast - researchers can pinpoint regions of similarity and difference. This information can help scientists better understand the structure and function of human genes, and develop new strategies to combat human disease.  
   genome (จีโนม) n. กลุ่มยีนในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต

    Identifying DNA sequences that have been "conserved" - that is, preserved in many different organisms over millions of years - is an important step toward understanding the genome itself. It pinpoints genes that are essential to life and highlights genomic signals that control gene function across many species. It helps us to further understand what genes relate to various biological systems, which in turn may translate into innovative approaches for treating human disease and improving human health.
   Comparative genomics also provides a powerful tool for studying evolution. By taking advantage of - and analyzing- the evolutionary relationships between species and the corresponding differences in their DNA, scientists can better understand how the appearance, behavior and biology of living things have changed over time.
   As DNA sequencing technology becomes more powerful and less expensive, comparative genomics is finding wider applications in agriculture, biotechnology and zoology as a tool to tease apart the often subtle differences among animal species. Such efforts have led to new insights into some branches on the evolutionary tree, as well as improving the health of
domesticated animals and pointing to new strategies for conserving rare and endangered species.

   The genomes of almost all living creatures, both plants and animals, consist of DNA (deoxyribonucleic acid), the chemical chain that includes the genes that code for different proteins and the regulatory sequences that turn those genes on and off. Precisely which protein is produced by any given gene is determined by the sequence in which four building blocks - adenine (A), thymine (T), cytosine (C) and guanine (G) - are laid out along DNA's
twisted, double-helix structure.

    Comparative genomics has yielded dramatic results. Investigators are increasingly using comparative genomics to explore areas ranging from human development and behavior to metabolism and susceptibility to disease. These studies are uncovering new behavioral, neurological and developmental pathways and genes that are shared or related among species. Some researchers are using comparative genomics to reveal the genomic underpinnings of disease in animals with the hope of gaining new insights into disease development in humans. Among the results so far are the following:-
   A study discovered that about 60 percent of genes are conserved between fruit flies and humans, meaning that the two organisms appear to share a core set of genes. Two-thirds of human genes known to be involved in cancer have counterparts in the fruit fly.
  A comparative genomics analysis of six species of yeast prompted scientists to significantly revise their initial catalog of yeast genes and to predict a new set of functional elements that play a role in regulating genome activity, not just in yeast but across many species. Researchers studying milk production have mapped genes that increase the yield of high-fat milk in cows, resulting in higher production levels and potentially a significant economic impact.
This is one of many studies aimed at increasing food production.
   Scientists have found genes that increase muscling in cattle by twofold; they found the same genes in racing dogs, and such results may foster human performance studies.
   Comparisons of nearly 50 bird species' genomes revealed a gene network that underlies singing in birds and that may have an important role in human speech and language. The bird researchers also found gene networks responsible for traits such as feathers and beaks.
   In recent years, researchers in the National Human Genome Research Institute (NHGRI) intramural program also have studied the genomics of various cancer types in dogs, including common cancers and other diseases, to try to develop new insights into the human form of the condition. In some cases, they have mapped genes contributing to these disorders.
   In other studies, NHGRI researchers are comparing how genes affect body shape and size in dogs to better understand growth and development. Studies of dogs with sleep problems have revealed genes and pathways - and potential drug targets - to treat sleep problems.

   Researchers have sequenced the complete genomes of hundreds of animals and plants-more than 250 animal species and 50 species of birds alone-and the list continues to grow almost daily.
  In addition to the sequencing of the human genome, which was completed in 2003, scientists involved in the Human Genome Project sequenced the genomes of a number of model organisms that are commonly used as surrogates in studying human biology. These include the rat, puffer fish, fruit fly, sea squirt, roundworm, and the bacterium Escherichia coli.  For some organisms NHGRI has sequenced many varieties, providing critical data for
understanding genetic variation.
  DNA sequencing centers supported by NHGRI also have sequenced genomes of the chicken, dog, honey bee, gorilla, chimpanzee, sea urchin, fungi and many other organisms.
  How is the National Human Genome Research Institute (NHGRI) involved in the growth of this new field of research?
  NHGRI pioneered the development of DNA sequencing methods and technologies - including informatics - and has funded research to study the genomes of a wide range of species. The National Institutes of Health (NIH) Intramural Sequencing Center has been instrumental in the sequencing of many organisms.
  NHGRI programs such as ENCODE (Encyclopedia of DNA Elements) and mod  ENCODE (model organism Encyclopedia of DNA Elements) have compared and contrasted the inner workings of animal and human genomes to try to better understand how genomes function.
  In modENCODE, researchers found shared patterns of gene activity and regulation among fly, worm and human genomes. The mouse ENCODE Consortium demonstrated that, in general, the systems that are used to control gene activity have many similarities in mice and humans.            

            Body of the text

   Comparative genetic representation การแสดงข้อมูลทางพันธุกรรมเปรียบเทียบ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

เป็นเนื้อหาของบทความหรือสินค้าโดยละเอียด

กรุณาใส่ข้อความ …

Visitors: 132,918