๑.การบริจาคแบบอิเล็กทรอนิคส์


 

        บริจาคอิเล็กทรอนิกส์  กรมสรรพากร

      

                     บริจาคอิเล็กทรอนิกส์  กรมสรรพากร
   ตอบกลับ การลงทะเบียนระบบบริจาคอิเล็กทรอนิกส์ (e-Donation) กรมสรรพากร
   E-mail: edonation@rd.go.th
    Mon, Sep 17, 8:33 PM (8 hours ago)         
   to me
    กรมสรรพากร ขอแจ้งให้ท่านทราบว่า เลขประจำตัวหน่วยรับบริจาคคือ :                          0994002419781  

   ชื่อหน่วยรับบริจาค : ๙๕  วัดจอมมณี  บ้านหนองบอน  หมู่ที่ ๘   ต.นาโป่ง   อ.เมือง  

จ.เลย   ร.๔๒๐๐๐
ที่อยู่ ,อาคาร - ,ห้องที่ - ,ชั้นที่ - ,หมู่บ้าน - ,เลขที่ - ,หมู่ที่ - ,ตรอก/ซอย - ,ถนน - ตำบล นาโป่ง , อำเภอ เมืองเลย , จังหวัด เลย รหัสไปรษณีย์ 42000
    ได้รับการอนุมัติให้ใช้ระบบบริจาคอิเล็กทรอกนิกส์เรียบร้อยแล้ว เมื่อวันที่                  17/09/2561
    ท่านสามารถใช้ระบบบริจาคอิเล็กทรอนิกส์ (e-Donation) โดยระบุรหัสผู้ใช้ด้วยเลขประจำตัวหน่วยรับบริจาค 13 หลักและรหัสผ่านที่ได้กำหนดไว้

   -รหัสผ่าน  e-Donation: 98645795

   -รหัส อีเมลผู้ใช้: rachun05@gmail.com
        จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ
   ระบบบริจาคอิเล็กทรอนิกส์ (e-Donation)
      กรมสรรพากร

 ระบบบริจาคอิเล็กทรอนิกส์  กรมสรรพากร  จงคลิกอ่านดูรายละเอียดที่ลิ้งค์ข้างล่างนี้

   http://edonation.rd.go.th/donate/Index_InfoS.jsp

    [PDF]คู่มือระบบบริจาคอิเล็กทรอนิกส์ (e-Donation) กรมสรรพ 1

   คู่มือระบบบริจาคอิเล็กทรอนิกส์ (e-Donation) เวอร์ชั่น 2 ...
    ระบบบริจาคอิเล็กทรอนิกส์ ( e-Donation)

   https://www.governmentcomplex.com/detail.php?p=2443

   https://www.dharmniti.co.th/e-donation/

   PDF]คาถาม – ค าตอบ ระบบบริจาคอิเล็กทรอนิกส์ (e-Donation)

       

 

    
------------------------------------------------------------------------------------
หมายเหตุ: ข้อความและ E-mail นี้ เป็นการสร้างอัตโนมัติจากระบบฯ ไม่ต้องตอบกลับ

                            

                           บัตรสมาร์ทการ์ด

     

            

        

 

            บัตรสมาร์ทการ์ด
            สมาร์ทการ์ดแบบสัมผัส
  ๐สมาร์ตการ์ดแบบสัมผัส (contact smart card) ตัวบัตรมีการฝังชิปใต้หน้าสัมผัสที่เป็นแผ่นโลหะสีทองขนาดเล็ก เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณครึ่งนิ้วไว้ที่ด้านหน้าของบัตร ตอนใช้งานต้องสอดบัตรเข้าในเครื่องอ่านให้หน้าสัมผัสของบัตรได้แตะกับหน้าสัมผัสภายในเครื่องอ่านบัตร ส่วนใหญ่จะเป็นกับบัตรเครดิตหรือบัตรเอทีเอ็ม ปัจจุบันประเทศไทยได้ใช้สมาร์ตการ์ดชนิดนี้ทำบัตรประจำตัวประชาชนหรือซิมการ์ดของโทรศัพท์มือถือ ปัจจุบันมีการทำบัตรเครดิตที่เป็นสมาร์ทการ์ดแบบสัมผัสด้วยเป็นบัตรวีซ่า pay wave เช่น บัตรบลูการ์ด สมาร์ทการ์ดแบบไร้สัมผัส
   สมาร์ตการ์ดแบบไร้สัมผัส (contactless smart card) ตัวบัตรจะมีการฝังชิปและขดลวดสายอากาศเอาไว้ภายในซึ่งอาจมองด้วยตาเปล่าไม่เห็น สามารถติดต่อกับเครื่องอ่านบัตรที่รับส่งสัญญาณผ่านคลื่นวิทยุได้ในระยะที่กำหนด ซึ่งอาจเป็นระยะที่ใกล้ชิด (proximity card) หรือระยะที่ใกล้เคียง (vicinity card) แล้วแต่มาตรฐานของบัตร โดยไม่จำเป็นต้องให้บัตรสัมผัสกับเครื่องอ่านดังกล่าว ส่วนใหญ่จะใช้กับบัตรเก็บเงินทางด่วน บัตรโดยสารของรถไฟฟ้า บีทีเอสและรถไฟฟ้าใต้ดิน และบัตรชำระเงินย่อยเช่นบัตร Smart Purse เป็นต้น
   หลายๆคน อาจจะสงสัยกันว่า บัตรสมาร์ทการ์ด (Smart Card) ที่ได้ยินกันบ่อยๆ มันคือะไรกัน วันนี้ เราจะมาดูกันครับว่า บัตรสมาร์ทการ์ด มีคุณสมบัติอย่างไร
สมาร์ทการ์ด ถ้าให้มองในชีวิตประจำวันที่เราใช้กันอยู่ในปัจจุบัน รอบตัวเรามีเทคโนโลยี ที่ช่วยในการอำนวยความสะดวกสบายให้ชีวิตอยู่เต็มไปหมด เพราะทุกวันนี้โลกเราหมุนไวขึ้น การพัฒนาสิ่งต่างๆที่เข้ามาช่วยให้การใช้ชีวิตของมนุษย์สะดวกสบายก็ต้องยิ่งพัฒนาไวขึ้นตามไปด้วย จากสมัยก่อน เราเก็บข้อมูลต่างๆโดยการบันทึก การวาด หรือ การเขียน ลงในกระดาษ แต่สมัยนี้ เราสามารถบันทึกข้อมูลต่างๆในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ ลงในอุปกรณ์ที่มนุษย์ได้พัฒนาและสร้างขึ้นมา ซึ่งทำให้การเก็บข้อมูลต่างๆ สามารถทำได้สะดวกสบายขึ้นมาก
   สมาร์ทการ์ดที่เราพูดถึงกันเมื่อตอนต้น ถ้าใครนึกไม่ออกว่ามีอะไรบ้าง ไม่ต้องมองไกลตัวเลย “บัตรประชาชน” ที่เราทุกคนต้องพกติดตัวกันตลอดเวลานั้น ก็ถือว่าเป็นบัตรสมาร์ทการ์ดด้วยเช่นกัน รวมถึงบัตรเครดิตด้วยบัตรสมาร์ทการ์ด(Smart Card) คือ บัตรพลาสติกที่มีชิป IC (Integrated circuit) ติดหรือฝังอยู่ในตัวบัตรพลาสติกมีขนาดเท่าบัตรเครดิต เพื่อใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลและประมวลผลภายในตัวเองโดยวิธีการเข้ารหัสตามมาตรฐานเพื่อให้ระบบมีความปลอดภัยสูงขึ้น บัตรสมาร์ทการ์ด สามารถทำงานได้ด้วยตนเองโดยไม่ต้องอาศัยการติดต่อสื่อสารกับระบบหลัก (Font End) ทำให้ประหยัดในเรื่องระบบสื่อสารไปได้มากในการประมวลผล และจัดเก็บข้อมูล บัตรสมาร์ทการ์ดสามารถทำได้อย่างรวดเร็วกว่าสื่อสำหรับเก็บข้อมูลชนิดอื่น ๆ ด้วยขนาดที่เท่ากับบัตรแถบแม่เหล็กทำให้สะดวกในการจัดเก็บและพกพา นอกจากนี้บัตรสมาร์ทการ์ดยังมีคุณสมบัติด้านความทนทานไม่ว่าจะเป็น รังสีชนิดต่างๆ (ในปริมาณที่ไม่เป็นอันตรายต่อมนุษย์) สนามแม่เหล็ก ไฟฟ้าสถิต ความชื้น ความร้อน การบิดงอ ฯลฯ ก็ไม่สามารถทำให้บัตรสมาร์ทการ์ดเสียหายได้

     
       รู้หรือเปล่า!!? เลขประจำตัวประชาชน 13 หลัก แต่ละหลักบอกอะไรได้บ้าง
   บัตรประจำตัวประชาชนของประเทศไทย จะมีเลขที่บ่งบอกถึงเอกลักษณ์เฉพาะตัวของบุคคลนั้นอยู่ 13 หลักด้วยกัน แล้วเลขเหล่านี้จะไม่ซ้ำกับใคร ฉะนั้นบัตรประชาชนจึงเป็นสิ่งสำคัญที่เราต้องพกเพื่อยืนยันตัวเรา แต่เพื่อนเคยสงสัยบ้างไหมว่า เลขทั้ง 13 ตัวบอกรายละเอียดเรื่องใดบ้าง
 หลักที่ 1 (คือหมายเลข 1 ในตัวอย่าง) จะหมายถึง ประเภทบุคคล ซึ่งมีอยู่ 8 ประเภทได้แก่
   ประเภทที่ 1 คือ คนที่เกิดและมีสัญชาติไทย และได้แจ้งเกิดภายในกำหนดเวลา หมายความว่า เด็กคนใดก็ตามที่เกิดตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ.2527 เป็นต้นไป อันเป็นวันเริ่มแรกที่เขาประกาศให้ประชาชนทุกคน ต้องมีเลขประจำตัว 13 หลัก เมื่อพ่อแม่ผู้ปกครองไปแจ้งเกิดที่อำเภอ หรือสำนักทะเบียนในเขตที่อยู่ภายใน 15 วันนับแต่เกิดมา ตามที่กฎหมายกำหนด เด็กคนนั้นก็ถือเป็นบุคคลประเภท 1 และจะมีเลขประจำตัวขึ้นด้วยเลข 1 เช่น เด็กหญิงส้มจี๊ด เกิดเมื่อวันที่ 2 มกราคม 2527 และพ่อไปแจ้งเกิดที่เขตดุสิตภายในวันที่ 17 มกราคม 2527 เด็กหญิงส้มจี๊ด ก็จะมีหมายเลขประจำตัวขึ้นต้นด้วยเลข 1 และก็ต่อด้วยเลขหลักอื่นๆ อีก 12 ตัว เป็น 1 1001 01245 29 9 เป็นต้น ซึ่งเลขนี้จะปรากฏในทะเบียนบ้าน และจะเป็นเลขประจำตัว เมื่อส้มจี๊ดไปทำบัตรประชาชนตอนอายุ 15 ปี
  ประเภทที่ 2 คือ คนที่เกิดและมีสัญชาติไทย ได้แจ้งเกิดเกินกำหนดเวลา หมายความว่า เด็กคนใดก็ตามที่เกิดตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2527 เป็นต้นไป แล้วบังเอิญว่าพ่อแม่ผู้ปกครองลืมหรือติดธุระ ทำให้ไม่สามารถไปแจ้งเกิดที่อำเภอหรือเขตภายใน 15 วันตามกฎหมายกำหนด เมื่อไปแจ้งภายหลัง เด็กคนนั้นก็จะกลายเป็นบุคคลประเภท 2 และจะมีเลขตัวแรกในทะเบียนบ้านขึ้นด้วยเลข 2 ทันที เช่น ในกรณีส้มจี๊ด หากพ่อไปแจ้งเกิดให้ ในวันที่ 18 มกราคม 2527 หรือเกินกว่านั้น ส้มจี๊ดก็จะมีเลขประจำตัวเป็น 2 1001 01245 29 9 ในทะเบียนบ้าน และเมื่อไปทำบัตรประชาชนในภายหน้า
  ประเภทที่ 3 คือ คนไทยและคนต่างด้าว ที่มีใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าว และมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน ในสมัยเริ่มแรก (คือตั้งแต่ก่อนวันที่ 31 พฤษภาคม 2527)หมายความว่า บุคคลใดก็ตาม ไม่ว่าจะเป็นคนไทย หรือคนต่างด้าว ที่มีใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าว และมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน ณ ที่ใดที่หนึ่งในประเทศไทย มาตั้งแต่ก่อนวันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2527 คนนั้นถือว่าเป็นบุคคลประเภท 3 และก็จะมีเลขประจำตัวขึ้นต้นด้วยเลข 3 เช่น ส้มจี๊ด เกิดเมื่อวันที่ 25 มกราคม พ.ศ.2501 และมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านแล้ว ส้มจี๊ดก็จะมีเลขประจำตัวในทะเบียนบ้าน และบัตรประชาชนเป็น 3 1001 01245 29 9
  ประเภทที่ 4 คือ คนไทยและคนต่างด้าว ที่มีใบสำคัญคนต่างด้าวแต่แจ้งย้ายเข้า โดยยังไม่มีเลขประจำตัวประชาชนในสมัยเริ่มแรก หมายความว่า คนไทยหรือคนต่างด้าว ที่มีใบสำคัญคนต่างด้าว ที่อาจจะเป็นบุคคลประเภท 3 คือมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านเดิมอยู่แล้ว แต่ยังไม่ทันได้เลขประจำตัว ก็ขอย้ายบ้านไปเขตหรืออำเภออื่น ก่อนช่วงวันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2527 ก็จะเป็นบุคคลประเภท 4 ทันที เช่น ส้มจี๊ดมีชื่ออยู่ในสำนักทะเบียนเขตคลองสาน มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2501 ต่อมาในเดือนกุมภาพันธ์ 2527 ส้มจี๊ดก็ขอย้ายบ้านไปเขตดุสิต โดยที่ส้มจี๊ดยังไม่ทันได้เลขประจำตัวจากเขตคลองสาน พอแจ้งย้ายเข้าเขตดุสิต ส้มจี๊ดก็จะกลายเป็นบุคคลประเภท 4 มีเลขประจำตัวขึ้นต้นด้วย 4 กลายเป็น 4 1001 01245 29 9 ทันที แต่ถ้าส้มจี๊ดย้ายจากเขตคลองสานเดิม ไปเขตดุสิต หลังวันที่ 31 พฤษภาคม 2527 ส้มจี๊ดก็ยังเป็นบุคคลประเภท 3 อยู่ เพราะถือว่าจะได้เลขประจำตัวจากเขตคลองสานแล้ว จะย้ายอย่างไรก็ไม่เปลี่ยนแปลง
 การกำหนดให้บุคคลเริ่มมีเลขประจำตัว 13 หลักในทะเบียนบ้านหรือบัตรประชาชน โดยเริ่มตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2527 เป็นต้นไป จนถึงวันที่ 31 พฤษภาคม 2527 อันเป็นวันสุดท้าย ของการดำเนินการให้ประชาชน ที่ไม่มีเลขประจำตัวในบัตรหรือทะเบียนบ้าน ได้มีเลขประจำตัวจนครบแล้วนั้น ก็เพราะก่อนหน้านี้ ประเทศไทยยังไม่เคยมีการกำหนดเลขประจำตัวดังกล่าวมาก่อนเลย ดังนั้น ช่วงที่ว่าจึงเป็นระยะเวลาจัดระบบให้เข้าที่เข้าทาง เพราะหลังจากวันที่ 31 พฤษภาคม 2527 แล้ว ทุกคนจะต้องมีเลขประจำตัวเพื่อสำแดงตนว่า เป็นบุคคลประเภทใด โดยดูตามเงื่อนไขในแต่ละกรณี ซึ่งมีอีก 4 ประเภท คือ
  ประเภทที่ 5 คือ คนไทยที่ได้รับอนุมัติให้เพิ่มชื่อ เข้าไปในทะเบียนบ้านในกรณีตกสำรวจ หรือกรณีอื่นๆ เช่น ส้มจี๊ดมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านเขตดุสิตอยู่แล้ว แต่บังเอิญว่าตอนที่มีการสำรวจรายชื่อผู้อยู่ในบ้าน เกิดความผิดพลาดทางเทคนิค ทำให้ชื่อของส้มจี๊ดหายไปจากทะเบียนบ้าน เมื่อไปแจ้งเจ้าหน้าที่และตรวจสอบแล้วว่าตกสำรวจจริง หรือจะเป็นเพราะกรณีอื่นใดก็ตาม เจ้าหน้าที่ก็จะเพิ่มชื่อให้ แต่ส้มจี๊ดก็จะมีหมายเลขในทะเบียนบ้านเป็นบุคคลประเภท 5 และบัตรประชาชนจะขึ้นต้นด้วยเลข 5 ทันที คือ กลายเป็น 5 1001 01245 29 9
  ประเภทที่ 6 คือ ผู้ที่เข้าเมืองโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย และผู้ที่เข้าเมืองโดยชอบด้วยกฎหมาย แต่อยู่ในลักษณะชั่วคราว กล่าวคือ คนที่มาอาศัยอยู่ในประเทศไทย แต่ยังไม่ได้สัญชาติไทย เพราะทางการยังไม่รับรองทางกฎหมาย เช่น ชนกลุ่มน้อยตามชายแดน หรือชาวเขา กลุ่มนี้ถือว่าเป็นผู้เข้าเมืองโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย ส่วนบุคคลที่เข้าเมืองโดยชอบด้วยกฎหมาย แต่อยู่ชั่วคราว เช่น นักท่องเที่ยวหรือชาวต่างชาติที่เดินทางเข้าประเทศไทย แม้บางคนจะถือพาสปอร์ตประเทศของตน แต่อาจจะมีสามีหรือภริยาคนไทย จึงไปขอทำทะเบียนประวัติ เพื่อให้มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านสามีหรือภริยา คนทั้งสองแบบที่ว่า ถือว่าเป็นบุคคลประเภท 6 เลขประจำตัวในบัตรจะขึ้นต้นด้วยเลข 6 เช่น 6 1012 23458 12
  ประเภทที่ 7 คือ บุตรของบุคคลประเภทที่ 6 ซึ่งเกิดในประเทศไทย คนกลุ่มนี้ในทะเบียนประวัติจะมีเลขประจำตัวขึ้นต้นด้วยเลข 7 เช่น 7 1012 2345 133
  ประเภทที่ 8 คือ คนต่างด้าวที่เข้าเมืองโดยถูกต้องตามกฎหมาย คือ ผู้ที่ได้รับใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าว หรือคนที่ได้รับการแปลงสัญชาติเป็นสัญชาติไทย และคนที่ได้รับการให้สัญชาติไทย ตั้งแต่หลังวันที่ 31 พฤษภาคม 2527 เป็นต้นไปจนปัจจุบัน คนกลุ่มนี้เลขในทะเบียนประวัติจะขึ้นด้วยเลข 8 เช่น 8 1018 01234 24 7
  คนทั้ง 8 ประเภทนี้ จะมีเพียงประเภทที่ 3, 4 และ 5 เท่านั้น ที่จะมีบัตรประชาชนได้เลย ส่วนประเภทที่ 1 และ 2 จะมีบัตรประชาชนได้ ก็ต่อเมื่อมีอายุถึงเกณฑ์ทำบัตรประจำตัวประชาชน คืออายุ 15 ปี แต่สำหรับบุคคลประเภทที่ 6, 7 และ 8 จะมีเพียงทะเบียนประวัติเล่มสีเหลืองเท่านั้น จะไม่มีการออกบัตรประชาชนให้
     http://www.nationtv.tv/main/content/378545779/

               ธนาคารกรุงเทพ พร้อมเพย์

     

     https://www.bangkokbank.com/th-TH/Personal/Digital-Banking/PromptPay

     https://www.youtube.com/watch?v=DxoXc4soP1A

     https://www.youtube.com/watch?v=IFHVHodFn80

     https://money.kapook.com/view151674.html

 

           แผ่นเงินแผ่นทองและแผ่นนากทำตะกรุด                          

   ๐แผ่นเงินแผ่นทองและแผ่นนากเอาไปทำตะกรุดให้สั่งซื้อที่เว็บไซต์ข้างล่างนี้

      http://www.dhammathai.org/webboard/dbview.php?No=3041   

             

     https://www.facebook.com/tohchangclub/posts/%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B8%94-/923983701066641/

     วิธีลบข้อความโฆษณาออกจากโทรศัพท์

     ๑.เปิดเว็บไซต์  AIS  หรือ  True  ขึ้นมา 

     ๒.คลิกที่ช่องล็อคอิน

     ๓.ใส่หมายเลขโทรศัพท์ในช่องโทรศัพท์

     ๔.คลิกในช่องตกลง

     ๕.ให้รอหมายเลขรหัสผ่าน

     ๖.ใส่รหัสผ่านเข้าไปในช่อง

     ๗.เมื่อเข้าไปแล้วให้คลิกที่เมนูบริการ

     ๘.ให้คลิกที่เมนู เลือก / ยกเลิก SMS 

     ๙.ให้คลิกเครื่องหมายถูกที่ช่องไม่รับข้อความ

     https://myais.ais.co.th/login?returnUrl=%2Fhome

       
              รายจ่ายค่าก่อสร้างศาลาหอกลองวัดจอมมณี

         

                          พ.ศ.๒๕๕๗
     -วันที่  ๑๐   พฤษภาคม    พ.ศ.๒๕๕๗
        -จ่ายเงินงวดที่ ๑ จ่ายค่าตีผังวางตงตั้งเสารวม  ๓๒  ต้น  จำนวน  ๕๐๐๐๐๐  บาทถ้วน

         วมค่าใช้จ่ายในปี พ.ศ.๒๕๕๗     เป็นจำนวนเงิน     ๕๐๐๐๐๐   บาท

                          พ.ศ.๒๕๕๘

     -วันที่  ๒๖  กุมภาพันธ์     พ.ศ.๒๕๕๘
        -จ่ายเงินงวดที่  ๒  จ่ายค่าผูกเหล็กเข้าแบบคานและวางแผ่นพื้นสำเร็จ  จำนวนเงิน  ๕๐๐๐๐๐  บาทถ้วน
     -วันที่  ๑๙    พฤศจิกายน     ๒๕๕๘
       -จ่ายเงินงวดที่  ๓  จ่ายค่าการเข้าแบบผูกเหล็กเทคานชั้นที่  ๒  จำนวนเงิน  ๔๐๐๐๐๐  บาทถ้วน

รวมค่าใช้จ่ายในปี พ.ศ๒๕๕๘   เป็นจำนวนเงิน    ๙๐๐๐๐๐   บาท

                  พ.ศ.๒๕๕๙

     -วันที่  ๔   มกราคม     พ.ศ.๒๕๕๙
         -จ่ายเงินงวดที่  ๔  จ่ายค่าแบบคานวางแผ่นพื้นชั้นที่  ๒   จำนวนเงิน  ๓๐๐๐๐๐  บาทถ้วน 

          รวมค่าใช้จ่ายในปี พ.ศ.๒๕๕๙      เป็นจำนวนเงิน     ๓๐๐๐๐๐    บาท

                         พ.ศ.๒๕๖๐

     -วันที่    ๑๘     มกราคม     พ.ศ.๒๕๖๐
        -จ่ายเงินงวดที่  ๕  จ่ายค่าผูกเหล็กเทคานและวางแผ่นพื้นชั้นที่สองต่อ   จำนวนเงิน  ๒๐๐๐๐๐  บาทถ้วน  ช่วงนี้ช่างทำงานไม่เสร็จตามสัญญาใช้เงินก่อสร้างไป  ๑๕๐๐๐๐  บาท  ขาดช่วงไปสองเดือน ช่างไม่มาทำงานต่อ  ทางวัดเห็นว่าช่างไม่ทำตามสัญญาที่ได้ตกลงกันไว้จึงได้ทำการยกเลิกการว่าจ้าง
     -วันที่    ๒๙     มีนาคม      พ.ศ.๒๕๖๐
       -จ่ายเงินงวดที่  ๖  จ่ายค่าผูกเหล็กเทคานและการวางแผ่นพื้นที่ยังค้างอยู่   จำนวนเงิน   ๑๑๘๘๐๙   บาท
     -วันที่   ๒   มิถุนายน      พ.ศ.๒๕๖๐
        -จ่ายเงินงวดที่  ๗  จ่ายค่าตั้งเสาโครงหลังคาและเสาหอกลอง   จำนวนเงิน  ๓๐๐๐๐๐  บาทถ้วน

          รวมค่าใช้จ่ายในปี พ.ศ.๒๕๖๐     เป็นจำนวนเงิน     ๓๑๘๘๐๙     บาท

                              พ.ศ.๒๕๖๑
      -วันที่   ๑๒    มิถุนายน         พ.ศ.๒๕๖๑
            -จ่ายเงินงวดที่   ๘     จ่ายค่าก่อสร้างโครงหลังคาเป็นจำนวนเงิน    ๑๕๐๐๐๐   บาท
      -วันที่   ๒๖   มิถุนายน       พ.ศ.๒๕๖๑
            -จ่ายเงินงวดที่   ๙    จ่ายค่าก่อสร้างโครงหลังคาเป็นจำนวนเงิน    ๑๐๐๐๐๐    บาท
      -วันที่   ๓    กรกฎาคม      พ.ศ.๒๕๖๑
           -จ่ายเงินงวดที่    ๑๐     จ่ายค่าก่อสร้างโครงหลังคาเป็นจำนวนเงิน     ๑๐๓๐๐๐    บาท
      -วันที่    ๑๐      กรกฎาคม       พ.ศ.๒๕๖๑
          -จ่ายเงินงวดที่   ๑๑     จ่ายค่าถมดินรอบบริเวณศาลาเป็นจำนวนเงิน     ๓๐๐๐๐    บาท
      -วันที่     ๑๖     พฤศจิกายน           พ.ศ.๒๕๖๑
          -จ่ายเงินงวดที่   ๑๒     จ่ายค่าถมดินรอบบริเวณศาลาเป็นจำนวนเงิน    ๕๗๕๐๐    บาท
      -วันที่     ๑       ธันวาคม            พ.ศ.๒๕๖๑
         -จ่ายเงิดงวดที่   ๑๓     จ่ายค่ากระเบื้องและค่าแรงมุงหลังคาเป็นจำนวนเงิน     ๔๐๐๐๐๐   บาทถ้วน 
      -วันที่     ๗     ธันวาคม         พ.ศ.๒๕๖๑
        -จ่ายเงินงวดที่    ๑๔    จ่ายค่าทำรางน้ำฝนและท่อระบายน้ำ  เป็นจำวนเงิน       ๕๘๐๐๐      บาท
      -วันที่     ๑๕      ธันวาคม        พ.ศ.๒๕๖๑
        -จ่ายเงินงวดที่   ๑๕     จ่ายค่าซื้อท่อ พี.วี.ซี. เครื่องอุปกรณ์     ๑๐๔๘๑     บาท
     -วันที่     ๒๑      ธันวาคม        พ.ศ.๒๕๖๑
        -จ่ายเงินงวดที่   ๑๖   จ่ายค่าอิฐบล็อดและปูน   เป็นจำนวนเงิน       ๑๓๒๐    บาท

     -วันที่     ๒๔      ธันวาคม        พ.ศ.๒๕๖๑

       -จ่ายเงินงวดที่   ๑๗      จ่ายค่าก่อฐานตั้งลูกกรงเซรามิค  เป็นจำนวนเงิน    ๒๘๓๖   บาท

     -วันที่      ๒๘       ธันวาคม        พ.ศ.๒๕๖๑

       -จ่ายเงินงวดที่    ๑๘      จ่ายค่าก่อฝาและการเทพื้นชั้นล่าง    เป็นจำนวนเงิน    ๑๘๗๐๐๐   บาท

          รวมค่าใช้จ่ายในปี พ.ศ.๒๕๖๑     เป็นจำนวนเงิน     ๑๑๐๐๑๓๗     บาท

                         พ.ศ.๒๕๖๒            

     -วันที่     ๒๔      มกราคม          พ.ศ.๒๕๖๒

        -จ่ายเงินงวดที่   ๑๙     จ่ายค่ากระเบื้องปูพื้นชั้นที่  ๓   เป็นจำนวนเงิน   ๒๙๒๕๐   บาท

     -วันที่     ๓๐     มกราคม          พ.ศ.๒๕๖๒

        -จ่ายเงินงวดที่     ๒๐      จ่ายค่าซี้อประตูไม้สัก   ๒   บาน และเครื่องอุปกรณ์  เป็นจำนวนเงิน   ๕๙๓๔   บาท

     -วันที่     ๘       กุมภาพันธ์       พ.ศ.๒๕๖๒

        -จ่ายเงินงวดที่     ๒๑       จ่ายจ่ายค่าช่างงวดที่หนึ่ง        เป็นจำนวนเงิน    ๑๒๐๐๐๐

บาท

    -วันที่     ๑๓      กุมภาพันธ์       พ.ศ.๒๕๖๒

        -จ่ายเงินงวดที่     ๒๒      จ่ายค่าประตูบานเลื่อน  ๒  ช่อง     เป็นจำนวนเงิน   ๓๓๐๐๐   บาท

    -วันที่     ๑๙      กุมภาพันธ์      พ.ศ.๒๕๖๒

        -จ่ายเงินงวดที่     ๒๓       จ่ายค่าราวสแตนเลส       เป็นจำนวนเงิน     ๒๐๐๐๐   บาท

    -วันที่     ๑๕      เมษายน       พ.ศ.๒๕๖๒

        -จ่ายเงินงวดที่     ๒๔       จ่ายค่าช่างและเครื่องอุปกรณ์     เป็นจำนวนเงิน     ๑๕๐๐๐๐   บาท

    -วันที่    ๙       พฤษภาคม      พ.ศ.๒๕๖๒

        -จ่ายเงินงวดที่     ๒๕      จ่ายค่าช่างปูกระเบื้องและเครื่องอุปกรณ์ทำบันได      เป็นจำนวนเงิน     ๙๐๐๐   บาท

    -วันที่    ๑๓      พฤษภาคม      พ.ศ.๒๕๖๒

        -จ่ายเงินงวดที่     ๒๖      จ่ายค่าสแตนเลสทำราวบันได      เป็นจำนวนเงิน     ๑๒๐๐๐    บาท

    -วันที่    ๑๔      มิถุนายน         พ.ศ.๒๕๖๒

      -จ่ายเงินงวดที่  ๒๗   จ่ายเงินค่าถมดินรอบศาลา  ๒๐๐  รถ    เป็นจำนวนเงิน  ๓๐๐๐๐  บาท

    -วันที่    ๒๒      มิถุนายน         พ.ศ.๒๕๖๒

      -จ่ายเงินงวดที่     ๒๘    จ่ายค่ารถแม็คโคทุบโรงครัวเก่า    เป็นจำนวนเงิน    ๓๕๐๐

บาท

    -วันที่     ๒๔      มิถุนายน         พ.ศ.๒๕๖๒

      -จ่ายเงินงวดที่   ๒๘    จ่ายค่าถมดินรอบศาลา  ๑๕๐   รถ     เป็นจำนวนเงิน    ๑๕๐๐๐  บาท

    -วันที่     ๓๐      มิถุนายน          พ.ศ.๒๕๖๒

      -จ่ายเงินงวดที่   ๒๙      จ่ายค่าซื้อท่อ พี.วี.ซี รุ่น 6 นิ้วซ่อนท่อระบายน้ำศาลา    เป็นจำนวนเงิน    ๓๐๐๐   บาท

    -วันที่     ๒๓      กรกฎาคม        พ.ศ.๒๕๖๒

      -จ่ายเงินงวดที่   ๓๐      จ่ายค่าแรงและค่าอุปกรณ์ในการก่อฉาบฝา     เป็นจำนวนเงิน  ๖๐๐๐๐   บาท

    -วันที่     ๓๐      กรกฎาคม         พ.ศ.๒๕๖๒

      -จ่ายเงินงวดที่   ๓๑      จ่ายค่าซื้อวงกบติดประตูห้องน้ำ      เป็นจำนวนเงิน     ๓๐๐๐  บาท

    -วันที่     ๙      สิงหาคม           พ.ศ.๒๕๖๒

       -จ่ายเงินงวดที่   ๓๒      จ่ายค่าแรงและค่าซื้อเครื่องอุปกรณ์     เป็นจำนวนเงิน     ๔๐๐๐๐   บาท

    -วันที่      ๒๓      สิงหาคม         พ.ศ.๒๕๖๒

       -จ่ายเงินงวดที่   ๓๓      จ่ายค่าแรง        เป็นจำนวนเงิน     ๑๐๐๐๐    บาท

    -วันที่      ๑        กันยายน         พ.ศ.๒๕๖๒

       -จ่ายเงินงวดที่   ๓๔     จ่ายค่าแรง        เป็นจำนวนเงิน      ๗๐๐๐     บาท

    -วันที่      ๕        กันยายน         พ.ศ.๒๕๖๒

       -จ่ายเงินงวดที่   ๓๕     จ่ายต่าแรง        เป็นจำนวนเงิน       ๕๐๐๐๐    บาท

    วันที่     ๗     กันยายน       พ.ศ. ๒๕๖๒

       -จ่ายเงินงวดที่   ๓๖     จ่ายค่าหน้าต่าง     เป็นจำนวนเงิน    ๕๑๘๐๐    บาท

    -วันที่      ๒๘      ตุลาคม       พ.ศ.๒๕๖๒

       -จ่ายเงินงวดที่   ๓๗      จ่ายค่าแรงและค่าวัสดุการก่อสร้าง      เป็นจำนวนเงิน     ๑๐๐๐๐๐  บาท

    -วันที่      ๓       พฤศจิกายน      ๒๕๖๒

       -จ่ายเงินงวดที่   ๓๘      จ่ายค่าแรงและค่าเครื่องอุปกรณ์ไฟฟ้าและสี       เป็นจำนวนเงิน     ๙๐๐๐๐     บาท

    -วันที่      ๑๘     พฤศจิกายน      ๒๕๖๒

       -จ่ายเงินงวดที่   ๓๙       จ่ายค่ากระเบื้องปูพื้น       เป็นจำนวนเงิน       ๖๒๓๔๕     บาท

       -จ่ายเงินงวดที่   ๔๐       จ่ายค่าพัดลมติดศาลา      เป็นจำนวนเงิน       ๑๗๘๘๐    บาท

    -วันที่      ๒๐       ธันวาคม        พ.ศ.๒๕๖๒

       -จ่ายเงินงวดที่   ๔๑       จ่ายต่าช่าง         เป็นจำนวนเงิน      ๑๐๐๐๐    บาท

             รวมค่าใช้จ่ายในปี พ.ศ.๒๕๖๒      เป็นจำนวนเงิน     ๙๒๔๗๐๙

                              พ.ศ.๒๕๖๓

    -วันที่     ๑๕       เมษายน        พ.ศ.๒๕๖๓

       -จ่ายเงินงวดที่   ๔๒       จ่ายค่าทำแท่นพระ       เป็นจำนวนเงิน     ๗๔๐๐๐   บาท

    -วันที่     ๒๘       เมษายน        พ.ศ.๒๕๖๓

       -จ่ายเงินงวดที่   ๔๓       จ่ายค่าปูกระเบื้องภายในศาลาครั้งที่ ๑       เป็นจำนวนเงิน      ๕๑๘๐๐    บาท

    -วันที่      ๒๘      พฤษภาคม      พ.ศ. ๒๕๖๓

       -จ่ายเงินงวดที่   ๔๔    จ่ายค่าปูกระเบื้องภายในศาลาครั้งที่ ๒     เป็นจำนวนเงิน   ๓๙๖๐๐  บาท

     -วันที่     ๒๗      มิถุนายน       พ.ศ. ๒๕๖๓

        -จ่ายเงินงวดที่   ๔๕    จ่ายค่าปูกระเบื้องรอบนอกศาลาครั้งที่ ๑    เป็นจำนวนเงิน        ๔๒๐๐๐    บาท

    -วันที่่     ๒๘      มิถุนายน       พ.ศ. ๒๕๖๓

       -จ่ายเงินงวดที่   ๔๖     จ่ายค่าทำตาข่ายกั้นรางน้ำ     เป็นจำนวนเงิน    ๑๐๐๐๐   บาท

    -วันที่     ๒๘      มิถุนายน       พ.ศ. ๒๕๖๓

       -จ่ายเงินงวดที่   ๔๗     จ่ายค่าทำที่แกั้นระบายน้ำ     เป็นจำนวนเงิน   ๕๕๐๐    บาท

    -วันที่     ๑๑     กรกฎาคม      พ.ศ. ๒๕๖๓

       -จ่ายเงินงวดที่   ๔๘     จ่ายค่าทำภาพโชว์หน้าศาลา    เป็นจำนวนเงิน    ๓๐๐๐   บาท

    -วันที่     ๑๑      กรกฎาคม       พ.ศ. ๒๕๖๓

       -จ่ายเงินงวดที่   ๔๙      จ่ายค่าประตูบานเลือน      เป็นจำนวนเงิน     ๔๙๐๐๐   บาท

    -วันที่     ๑๖      กรกฎาคม       พ.ศ.๒๕๖๓

       -จ่ายเงินงวดที่    ๕๐      จ่ายค่าปูอิฐตัวหนอน         เป็นจำนวนเงิน      ๔๕๐๐๐    บาท   

    -วันที่     ๒๔      กรกฎาคม        พ.ศ.๒๕๖๓

       -จ่ายเงินงวดที่   ๕๑      จ่ายค่าปูกระเบื้องรอบนอกศาลา      เป็นจำนวนเงิน    ๓๐๐๐๐   บาท

    -วันที่     ๑๔      สิงหาคม         พ.ศ. ๒๕๖๓

       -จ่ายเงินงวดที่    ๕๒       จ่ายค่าปูอิฐตัวหนอนหน้าศาลา       เป็นจำนวนเงิน     ๒๕๐ ๐๐   บาท

    -วันที่     ๑๙      สิงหาคม        พ.ศ.๒๕๖๓

       -จ่ายเงินงวดที่     ๕๓       จ่ายค่าแผ่นปิดรอยแตก       เป็นจำนวนเงิน    ๗๐๐  บาท 

    -วันที่     ๒๕      สิงหคม        พ.ศ.๒๕๖๓

       -จ่ายเงินงวดที่     ๕๔       จ่ายค่าปูอิฐตัวหนอน         เป็นจำนวนเงิน     ๑๘๐๐๐   บาท

   -วันที่     ๒๙      สิงหาคม       พ.ศ.๒๕๖๓

       -จ่ายเงินงวดที่     ๕๕       จ่ายค่าทำบันไดชั้นนอก ครั้งที่ ๑     เป็นจำนวนเงิน     ๔๘๐๐๐     บาท

           รวมค่าใช้จ่าย  ๔๑๙๐๐๐

   -วันที่    ๑๒       กันยายน        พ.ศ.๒๕๖๓

       -จ่ายเงินงวดที่    ๕๖       จ่ายค่าทำบันไดชั้นนอกครั้งที่  ๒      เป็นจำนวนเงิน     ๒๐๐๐๐   บาท

   -วันที่     ๑๓      กันยายน        พ.ศ.๒๕๖๓

       -จ่ายเงินงวดที่   ๕๗       จ่ายค่าซื้ออุปกรณ์ทำบันได       เป็นจำนวนเงิน     ๑๑๘๗๐  บาท

    -วันที่     ๑๘      กันยายน       พ.ศ.๒๕๖๓

       -จ่ายเงินงวดที่    ๕๘        จ่ายค่าทำบันไดชั้นนอกครั้งที่   ๓     เป็นจำนวนเงิน     ๒๐๑๒๙    บาท     

    -วันที่     ๒๓      กันยายน        พ.ศ.๒๕๖๓

       -จ่ายเงินงวดที่    ๕๙        จ่ายค่าทำบันไดชั้นในครั้งที่ ๑     เป็นจำนวนเงิน    ๔๕๐๐๐   บาท

    -วันที่     ๒๒      ตุลาคม       พ.ศ.๒๕๖๓

       -จ่ายเงินงวดที่    ๖๐        จ่ายค่าทำบันไดชั้นในครั้งที่  ๒     เป็นจำนวนเงิน     ๑๕๐๐๐   บาท

    -วันที่     ๕      พฤศจิกายน       พ.ศ.๒๕๖๓

       -จ่ายเงินงวดที่     ๖๑       จ่ายค่าหินเกล็ด       เป็นจำนวนเงิน     ๑๔๐๐     บาท

    -วัรที่     ๕      พฤศจิกายน       พ.ศ.๒๕๖๓

        -จ่ายเงินงวดที่     ๖๒       จ่ายค่าปั้นพญานาคครั้งที่ ๑      เป็นจำนวนเงิน     ๑๐๐๐๐ บาท

    -วันที่     ๑๕     พฤศจิกายน       พ.ศ.๒๕๖๓
       -จ่ายเงินงวดที่     ๖๓       จ่ายค่าทำบันไดชั้นในครั้งที่  ๓      เป็นจำนวนเงิน     ๑๕๐๐๐    บาท

    -วันที่     ๑๗      พฤศจิกายน       พ.ศ.๒๕๖๓

       -จ่ายเงินงวดที่     ๖๔       จ่ายค่าทำราวสแตนเลสครั้งที่  ๑      เป็นจำนวนเงิน    ๑๕๐๐๐   บาท

    -วันที่     ๒๓      พฤศจิกายน       พ.ศ.๒๕๓

       -จ่ายเงินงวดที่     ๖๕       จ่ายค่ปั้นพญานาคครั้งที่  ๒     เป็นจำนวนเงิน     ๑๗๐๐๐   บาท

               รวมค่าใช้จ่าย  ในปี พ.ศ.๒๕๖๓   เป็นจำนวยนเงิน  ๖๑๑๙๙๙

                      พ.ศ.๒๕๖๔

    วันที่     ๔       มกราคม        พ.ศ.๒๕๖๔

       -จ่ายเงินงวดที่่     ๖๖     จ่ายค่าฉาบเสาและคานชั้นล่างครั้งที่  ๑   เป็นจำนวเงิน

๖๐๐๐๐   บาท  

    วันที่     ๒๑     มกราคม      พ.ศ.๒๕๖๔

       -จ่ายเงินงวดที่     ๖๗     จ่ายค่าฉาบเสาและคานชั้นล่างครั้งที่ ๒    เป็นจำนวนเงืน   ๔๕๐๐๐   บาท

    วันที่     ๑๒      กุมภาพุนธ์    พ.ศ.๒๕๖๔

       -จ่ายเงินงวดที่      ๖๘      จ่ายค่าฉาบเสาและคานชั้นล่างครั้งที่  ๓   เป็นจำนวนเงิน

๒๕๐๐๐   บาท

    วันที่     ๑๖      กุมภาพันธ์       พ.ศ.๒๕๖๔

       -จ่ายเงินงวดที่      ๖๙      จ่ายค่าทำเพดาน,ติดตั้งไฟฟ้า,และทาสี งวดที่  ๑   เป็นจำนวนเงิน   ๗๕๐๐๐   บาท

    วันที่     ๑๒      มีนาคม         พ.ศ.๒๕๖๔

       -จ่ายเงินงวดที่     ๗๐     จ่ายค่าทำเพดานและติดตั้งไฟฟ้าครั้งที่  ๒   เป็นจำนวนเงิน   ๕๐๐๐๐  บาท    

     วันที่     ๗      เมษายน         พ.ศ.๒๕๖๔

       -จ่ายเงินงวดที่     ๗๑      จ่ายค่าทำเพคานชั้นล่างและทาสีครั้งที่  ๓   เป็นจำนวนเงิน   ๔๐๐๐๐  บาท

     วันที่     ๑๘     เมษายน        พ.ศ.๒๕๖๔

       -จ่ายเงินงวดที่     ๗๒      จ่ายค่าทำเพดานและทาสีชั้นล่างครั้งที่  ๔   เป็นจำนวนเงิน   ๓๕๐๐๐   บาท

     วันที่     ๑      พฤษภาคม      พ.ศ.๒๕๖๔

       จ่ายเงินงวดที่     ๗๓        จ่ายค่าปูกระเบื้องชั้นล่างครั้งที่ ๑   เป็นจำนวนเงิน   ๙๕๐๐๐  บาท

    วันที่     ๑๕      พฤษภาคม      พ.ศ.๒๕๖๔

       -จ่ายเงินงวดที่   ๗๔        จ่ายค่าปูกระเบื้องชั้นล่างครั้งที่  ๒    เป็นจำนวนเงิน   ๖๕๐๐๐  บาท

    วันที่     ๑๖       มิถุนายน        ๒๕๖๔

       -จ่ายเงินงวดที่    ๗๙       จ่ายค่าปูกระเบื้องพื้นชั้นล่างครั้งที่   ๓   เป็นจำนวนเงิน

๔๕๐๐๐   บาท

    วีนที่     ๒๑       มิถุนายน        พ.ศ.๒๕๖๔

       -จ่ายฃเงินงวดที่   ๘๐      จ่ายค่าทำราวมสแตนเลสชั้นล่างเป็นจำนวนเงิน   ๔๐๐๐๐   บาท

    วันที่     ๒๗       มิถุนายน        พ.ศ.๒๕๖๔       

      -จ่ายเงินงวดที่     ๘๑       จ่ายค่าการติดประตูและหน้าต่างเป็นจำนวนเงิน   ๙๐๐๐๐   บาท

     วันที่     ๑        กรกฎาคม        พ.ศ.๒๕๖๔

       -จ่ายเ้งินงวดที่    ๘๒       จ่ายค่าทำประตูและกั้นฝาห้องด้านในเป็นจำนวนเงิน   ๔๕๐๐๐   บาท

                      รวมค่าใช้จ่ายในปี พ.ศ.๒๕๖๔  =๗๑๐๐๐๐   บาท        

   

      

         

       

                            

          

             

    

       

 

 

 

 

 

 

เป็นเนื้อหาของบทความหรือสินค้าโดยละเอียด

กรุณาใส่ข้อความ …

Visitors: 140,120