๓.ธมฺมปทฏฺฐกถา
ธัมมปทัฏฐกถา ภาษาบาลี
ธัมมปทัฏฐกถา ภาคที่ ๒
https://kalyanamitra.org/book/index_dhammabook_detail.php?id=649
๐ในหนังสือธัมมปทัฏฐกถา ภาคที่ ๒ นี้ แบ่งออกเป็น ๒ วรรค คือ:-
๑.อัปปมาทวรรค คือวรรคที่ว่าด้วยเรื่องของความไมประมาท
๒.จิตตวรรค คือวรรคที่ว่าด้วยเรื่องของจิต
อัปปมาทวรรค
๐อัปปมาทวรรคแบ่งออกเป็น ๙ เรื่อง คือ:-
๑.เรื่องของนางสามาวดี
๒.เรื่องของกุมภโฆสกะ
๓.เรื่องของจูฬปันถกะเถระ
๔.เรื่องของพาลนักขัตตะ
๕.เรื่องของมหากัสสปะเถระ
๖.เรื่องของภิกษุสองสหาย
๗.เรื่องของท้าวสักกะ
๘.เรื่องของอัญญตรภิกษุ
๙,เรื่องของพระนิคมวาสีติสสะเถระ
คำศัพท์เรื่องของนางสามาวดี
๐ในเรื่องของนางสามาวดีมีคำศัพท์ที่ควรจดจำดังต่อไปนี้
หน้าที่ ๑
๒.อปฺปมาทวคฺค วณฺณนา
๑.สามาวตี วตฺถุ. [๑๕]
อปฺปมาโท อมตํ ปทนฺติ อิมํ ธมฺมเทสนํ สตฺถา โกสมฺพึ อุปนิสฺสาย โฆสิตาราเม วิหรนโตฺ
สามาวตีปมุขานํ ปญฺจนฺนํ อิตฺถีสตานํ. มาคนฺทิยปมุขานํ จ ตสฺสา ปญฺจนฺนํ ญาติสตานํ
มรณ พฺยสนํ อารพฺภ กเถสิ. ตตฺรายํ อนุปุพฺพีกถา
อตีเต อลฺลกปฺปรฏฺเฐ อลลกปฺปราชา นาม เวฏฺฐทีปกรฏฺเฐ เวฏฺฐทีปกราชา นามาติ อิเม เทฺว ทหรกาลโต ปฏฺฐาย สหายกา หุตฺวา เอกาจริยกุเล สิปฺปํ อุคฺคณฺหิตฺวา อตฺตโน อตฺตโน ปิตูนํ อจฺจเยน ฉตฺตํ อุสฺสาเปตฺวา ทสทสโยชนิเก รฏฺเฐ ราชาโน อเหสุํ. เต กาเลน กาลํ สมาคนฺตฺวา เอกโต ติฏฺฐนฺตา นิสีทนฺตา นิปชฺชนฺตา มหาชนํ ชายมานํ จ มียมานํ จ ทิสฺวา ปรโลกํ คจฺฉนฺตํ อนุคจฺฉนฺโต นาม นตฺถิ อนฺตมโส อตฺตโน สรีรํปิ สพฺพํ ปหาย คนฺตพฺพํ กินฺโน ฆราวาเสน ปพฺพชิสฺสามาติ มนฺเตตฺวา รชฺชานิ ปุตฺตทารสฺส นิยฺยาเทตฺวา อิสิปพฺพชฺชํ ปพฺพชิตฺวา หิมวนฺตปฺปเทเส วสนฺตา มนฺตยึสุ มยํ รชฺชํ ปหาย ปพฺพชิตา น ชีวิตุํ อสกฺโกนตาฺ เต มยํ เอกฏฺฐาเน วสนฺตา อปพฺพชิตสทิสาเยว โหม ตสฺมา วิสุํ วสิสฺสาม ตฺวํ เอตสฺมึ ปพฺพเต วส อหํ อิมสฺมึปพฺพเต วสิสฺสามิ อนฺวฑฺฒมาสํ ปน อุโปสถทิวเส เอกโต ภวิสฺสามาติ. อถ เนสํ เอตทโหสิ เอวํปิ โน คณสงฺคณิกาว ภวิสฺสติ ตฺวํ ตว ปพฺพเต อคฺคึ ชาเลยยาสิ, อหํ มม ปพฺพเต อคฺคึ ชาเลสฺสามิ ตาย สญฺญายอตฺถิภาวํ ชานิสฺสามาติ. เต ตถากรึสุ.
คำศัพท์เรื่องนางสามาวดี หน้าที่ ๑
๑.สามาวตี วัตถุ = เรื่องของนางสามาวดี ๒.อมตํ = ความไม่ตาย
๓.ปทํ = เป็นหนทาง ๔.อิมํ = นี้
๕.ธมฺมเทสนํ =พระธรรมเทศนา ๖.สตฺถา = พระศาสดา
๗.โกสมฺพึ =ซึ่งเมืองโกสัมพี ๘.อุปฺปนิสฺสาย =เมื่อเข้าไปอาศัย
๙.โฆสีตาราเม =ในอารามชื่อว่าโฆสิตะ ๑๐.วิหรนฺโต =เมื่ออยู่
๑๑.สามาวตีปมุขานํ =มีนางสามาวดีเป็นประธาน ๑๒.ปญฺจนฺนํ =๕ คน
๑๓.อิตฺถีสตานํ =หญิง ๑๐๐ คน ๑๔.มาคนฺทิยาปมุขานญฺจ = มีนางมาคันทิยาเป็นประธานด้วย
๑๕.ตสฺสา =นั้น ๑๖.ปญฺจนฺนํ = ๕
๑๗.ญาติสตานํ =ญาติ ๑๐๐ คน ๑๘.มรณ พฺยสนํ = ความวอดวายคือความตาย
๑๙.อารพฺภ =ปรารภแล้ว ๒๐.กเถสิ =กล่าวแล้ว
๒๑.ตตฺรายํ (ตตฺร + อยํ) = ในเรื่องนางสามาวดีนั้น ดังต่อไปนี้
๒๒.อนุปุพฺพีกถา =วาจาเป็นเครื่องกล่าวโดยลำดับ ๒๓.อตีเต =ในเวลาที่ผ่านไปแล้ว
๒๔.อลฺลกปฺปรฏฺเฐ =ในรัฐชื่ว่าอัลลกัปปะ ๒๖.อลฺลกปฺปราชา =พระราชาทรงพระนามว่าอัลลกัปปะ
๒๗.นาม =ชื่อ
๒๘.เวฏฐทีปกรฏฺเฐ =.ในรัฐชื่อว่าเวฏฐทีปกะ ๒๙.เวฏฐทีปกราชา =พระราชาทรงพระนามว่าเวฏฐทีปกะ
๓๐.อิเม =เหล่านี้ ๓๑.เทฺว =๒
๓๒.ทหรกาลกโต =แต่เวลาที่เป็นหนุ่ม ๓๓.ปฏฺฐาย =จำเดิม
๓๔.สหายกา =เป็นสหาย ๓๕.หุตฺวา =เป็น ๓๖.เอกาจริยกุเล =ในสกุลของอาจารย์คนเดียวกัน
๓๗.สิปปํ =ศิลปะ ๓๘.อุคคณฺหิตวา =เรียนเอาแล้ว
๓๗.อตฺตโน =ของตน ๓๙.ปิตูนํ =แห่งบิดาทั้งหลาย
๔๐.อจฺจเยน =โดยกาลล่วงไป ๔๑.ฉตฺตํ =เศวตฉัตร
๔๒.อุสฺสาเปตฺวา =ให้ยกขึ้นแล้ว ๔๓.ทสทสโยชนิเก =มีประมาณแตว้นละ ๑๐ โยชน์
๔๔.รฏฺเฐ =ในรัฐ ๔๕.ราชาโน =พระราชาทั้งหลาย
๔๖.อเหสุํ =ได้เป็นแล้ว ๔๗.เต =เหล่านั้น
๔๘.กาเลน =โดยกาล ๔๙.กาลํ =ซึ่งกาล
๕๐.สมาคนฺตฺวา =มาประชุมกันแล้ว ๕๑.เอกโต =โดยความเป็นอันเดียวกัน
๕๒.ติฏฺฐนฺตา =ยืนอยู่ ๕๓.นิสีทนฺติ =นั่งอยู่
๕๔.นิปชฺชนฺตา =นอนอยู่ ๕๕.มหาชนํ =ซึ่งมหาชน
๕๖.ชายมานญฺจ =ผู้เกิดอยู่ด้วย ๕๗.มียมานญฺจ =ผู้ตายอยู่ด้วย
๕๙.ทิสฺวา =เห็นแล้ว ๖๐.ปรโลกํ =ซึ่งโลกอื่น
๖๑.คจฺฉนฺตํ =ไปอยู่ ๖๒.อนุตจฺฉนฺโต =ไปตาม
๖๓.นตฺถิ =ไม่มี ๖๔.อนฺตมโส =โดยที่สุด
๖๕.สรีรํปิ =แม้ร่างกาย ๖๖.สพฺพํ =ทั้งปวง
๖๗.ปหาย =ละแล้ว ๖๘.คนฺทพฺพํ =พึงไป
๖๙.กินฺโน = กึ + โน แปลว่า "ประโยชน์อะไร แก่เราทั้งหลาย"
๗๐.ฆราวาเสน =ด้วยการอยู่ครองเรือน ๗๑.ปพฺพชิสฺสาม =จักบวช
๗๒.มนฺเตตฺวา =ปรึกษากันแล้ว ๗๓.รชฺชานิ =ความเป็นพระราชา
๗๔.ปุตฺตทารสฺส =บุตรที่เป็นทารก ๗๕.นิยฺยเทตฺวา =มอบให้แล้ว
๗๖.อิสิปพฺพชฺชํ =บวชเป็นฤาษี ๗๗.ปพฺพชิตฺวา =บวชแล้ว
๗๘.หิมวนฺตปฺปเทเส =ในหิมวันตประเทศ ๗๙.วสนฺตา =ประทับอยู่
๘๐.มนฺตยึสุ =ปรึกษากันแล้ว ๘๑.มยํ =เราทั้งหลาย
๘๒.รชฺชํ =ความเป็นพระราชา ๘๓.ปหาย =ละแล้ว
๘๔.ปพฺพชิตา =บวชแล้ว ๘๕.น =ไม่
๘๖.ชีวิตุํ =เพื่อเป็นอยู่ ๘๗.อสกฺโกนฺโต =ไม่อาจอยู่
๘๘.เต =เหล่านั้น ๘๙.มยํ =เราทั้งหลาย
๙๐.เอกรฏฺเฐ =ในรัฐเดียวกัน ๙๑.วสนฺตา =อยู่อยู่
๙๒.อปพฺพชิตสทิสาเยว =(อปพฺพชิต + สทิส + เอว) เป็นเช่นกับด้วยบุคคลที่ไม่ได้บวชแล้วนั่นเทียว
๙๓.โหม =ย่อมเป็น ๙๔.ตสฺมา =เพราะเหตุนั้น
๙๕.วิสุํ =แยกกัน ๙๖.วสิสฺสาม =จักอยู่
๙๗.ตฺวํ =ท่าน ๙๘.เอตสฺมึ =นั้น
๙๙.ปพฺพเต =บนภูเขา ๑๐๐.วส =จงอยู่
๑๐๑.อหํ =ข้าพระเจ้า ๑๐๒.อิมสฺมึ =นี้
๑๐๓.วสิสฺสามิ =จักอยู่ ๑๐๔.อนุวฑฺฒมาสํ =สิ้นกึ่งเดือน
๑๐๕.ปน =ก็
๑๐๖.อุโปสถทิวเส =ในวันอุโบสถ ๑๐๗.เอกโต =โดยส่วนเดียว
๑๐๘.ภวิสสามาติ =จักมี ๑๐๙ฺ.อถ =ครั้งนั้น
๑๑๐.เนสํ (อิสีนํ) =แก่ฤาษีทั้งหลาย ๑๑๑.เอตทโหสิ (เอตํ + จินตนํ +อโหสิ ) =ได้มีความคิดนั่นว่า
๑๑๒.เอวํปิ =แม้อย่างนี้ ๑๑๓.โน =ของเราทั้งหลาย
๑๑๔.คณสงฺคณิกา ว =แม้การคลุกคลีด้วยหมู่เทียว ๑๑๕.ภวิสฺสติ =จักมี
๑๑๖.ตฺวํ =อันว่าท่าน ๑๑๗.ตว =ของตน
๑๑๘.ปพฺพเต =บนภูเขา ๑๑๙.ชาเลยยาสิ =จักให้ลุกโพลง
๑๒๐.มม =ของเรา ๑๒๑.อคฺคึ =ยังไฟ
๑๒๒.ชาเลสฺสาสิ =จักให้ลุกโพลง ๑๒๓.ตาย =นั้น
๑๒๔.สญฺญาย =ด้วยสัญญา ๑๒๕.อตฺถิภาวํ =ซึ่งความที่แห่งเราทั้งหลายมีอยู่
๑๒๖.ชานิสฺสามาติ (ชานิสสาม + อิติ) =จักรู้ ..ดังนี้
๑๒๗.คถา =เหมือนอย่างนั้น ๑๒๘.กรึสุ =กระทำแล้ว
หน้าที่ ๒ เรื่องนางสามาวดี
เป็นเนื้อหาของบทความหรือสินค้าโดยละเอียด
กรุณาใส่ข้อความ …